1 / 47

วิชา สศ 4 02 โภชนศาสตร์และการให้อาหารโค

วิชา สศ 4 02 โภชนศาสตร์และการให้อาหารโค. บทที่ 4 โปรตีนและการใช้ประโยชน์.

darcie
Download Presentation

วิชา สศ 4 02 โภชนศาสตร์และการให้อาหารโค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิชา สศ 402โภชนศาสตร์และการให้อาหารโค

  2. บทที่ 4โปรตีนและการใช้ประโยชน์ ในบทนี้จะกล่าวถึงโครงสร้างทางเคมี การแบ่งประเภทและความสำคัญของโปรตีนในร่างกาย การย่อย และ การใช้ประโยชน์ของโปรตีนในส่วนต่างๆของระบบทางเดินอาหารในสัตว์เคี้ยวเอื้องเนื่องจากโปรตีนเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของเซลล์ต่างๆในร่างกายและเป็นแหล่งพลังงานที่สำคัญของร่างกายอีกแหล่งหนึ่ง

  3. โปรตีน • เป็นสารประกอบที่สำคัญในเซลล์พืชและสัตว์ ในพืชพบมากขณะเจริญเติบโต คือใบและเมล็ด • พืชสังเคราะห์โปรตีนจากสารประกอบไนโตรเจน และซัลเฟอร์ในดิน (ในรูปของไนเตรทและ ซัลเฟต) • จุลินทรีย์สังเคราะห์โปรตีนจากสารประกอบที่ไม่ใช่โปรตีนได้ • พืชและจุลินทรีย์จึงเป็นแหล่งโปรตีนของสัตว์

  4. โปรตีนเป็นโภชนะที่สำคัญโปรตีนเป็นโภชนะที่สำคัญ :เป็นส่วนประกอบของเซลล์ทุกเซลล์ในร่างกายเช่นกล้ามเนื้อ กระดูก ขน ผม และผิวหนัง : เกี่ยวข้องกับการยืดและหดตัวของกล้ามเนื้อ :ทำหน้าที่เป็นภูมิคุ้มกันของร่างกาย : เป็นส่วนประกอบของฮอร์โมน : เป็นส่วนประกอบของเอนไซม์ที่เกี่ยวกับการเมตาบอลิซึม

  5. โปรตีนคืออะไร • เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่มี C, H และ Oแต่มี N ประมาณ 16 % นอกจากนี้มี S, P และ Fe ส่วนประกอบของโปรตีน คือ กรดอะมิโน (Amion acid) • กรดอะมิโนจะเชื่อมต่อกันโดยใช้พันธะเปปไทด์ (Peptide bond) ซึ่งเกิดจากการรวมกันระหว่างกลุ่มคาร์บอกซิล (Carboxyl group, -COOH) ของกรดอะมิโนตัวหนึ่งและหมู่อะมิโน (Amino group, -NH2) ของกรดอะมิโนอีกตัวหนึ่ง

  6. กรดอะมิโน • ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติทุกชนิดเป็นแบบL-configuration เป็นรูปที่ร่างกายนำไปใช้ประโยชน์ได้ • กรดอะมิโนสังเคราะห์ มีทั้ง D& L form • ในทางการค้าจึงมักผลิตในรูป L เพื่อให้ร่างกายสัตว์ใช้ได้ • ยกเว้นเมทไธโอนีน ในสัตว์ปีกใช้ได้ทั้งรูป D&L ในทางการค้าจึงผลิตในรูป DL-methionine

  7. ประเภทของกรดอะมิโน • กลุ่มที่มีโครงสร้างเป็นเส้นตรง (aliphatic amino acid) glycine, alanine, valine, leucine, serine, threonine, isoleucine • กลุ่มที่มีกำมะถันเป็นองค์ประกอบ ( methionine, cystine, cysteine) • กลุ่มที่มีสมบัติเป็นกรด(glutamine, aspartine) • กลุ่มที่มีสมบัติเป็นเบส(arginine, lysine, histidine) • กลุ่มที่มีโครงสร้างเป็นวงแหวน(phenyalanine, tyrosine, trytophane, proline)

  8. ประเภทของกรดอะมิโน

  9. โครงสร้างของกรดอะมิโนโครงสร้างของกรดอะมิโน HOOC-CH2-NH2 glycine HOOC-CH(NH2)CH2 alanine HOOC-CH(NH2)CH2-SH cysteine HOOC-CH(NH2)CH2- phenylalanine HOOC N H proline

  10. แบ่งโปรตีนในทางเคมี - Simple protein : ประกอบด้วยกรดอะมิโนต่อกันโดยพันธะเปปไทด์ - Conjugated protein :ที่มีสารอื่นรวมตัวกันแยกออกได้ยาก เช่น ไกลโคโปรตีน (glycoprotein) คือ โปรตีนที่มีคาร์โบไฮเดรต - Derived protein :โปรตีนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของโปรตีนธรรมดาและโปรตีนรวม โดยปฏิกิริยาทางเคมีหรือการเปลี่ยนแปลงทางฟิสิกส์

  11. คุณสมบัติของโปรตีน • การละลาย ละลายน้ำได้น้อย มีลักษณะเป็น colloid ตกตะกอนในเกลือ • การเป็นบัฟเฟอร์ มีกลุ่มคาร์บอกซิล(ใบกระถิน) • การเสียสภาพ โดยความร้อน กรด ด่าง เกลือ แอลกอฮอล • คุณภาพขึ้นกับกรดอะมิโนที่เป็นองค์ประกอบ กรดอะมิโนที่ขาดเสมอในอาหาร Limiting amino acid เช่นมนสัตว์ปีกขาด Methionine, Lysine ในสุกรขาด Lysine

  12. โปรตีนในอาหารจากพืช ส่วนใหญ่ อยู่ในรูปของ nitrogen ที่มีอยู่ในพืช โปรตีนบางส่วนละลายได้ บางส่วนไม่ละลายและบางส่วนอยู่ในผนังเซลล์ แบ่งตามการละลายได้ (solubility) คือ • True protein(70%) : prolamine, globulin, glutelins • NPN= non protein nitrogen: free amino acid, volatile amine, alkaloids, ammonium salt, nitrate, nitrite

  13. การย่อยโปรตีนในสัตว์เคี้ยวเอื้องการย่อยโปรตีนในสัตว์เคี้ยวเอื้อง - ใช้เอนไซม์จากจุลินทรีย์ เอนไซม์จากระบบทางเดินอาหาร และเอนไซม์จากตับอ่อนในการย่อยอาหาร • มีการหมุนเวียนของไนโตรเจนในร่างกายดีกว่า • ใช้ไนโตรเจนที่ไม่ใช่โปรตีน (NPN) เป็นแหล่งโปรตีนได้ • จุลินทรีย์ในกระเพาะรูเมนสังเคราะห์โปรตีนได้เพียงพอต่อความต้องการและเซลล์ถูกใช้เป็นประโยชน์ต่อสัตว์ได้

  14. การย่อยโปรตีนในกระเพาะรูเมนการย่อยโปรตีนในกระเพาะรูเมน โดยจุลินทรีย์ การย่อยสามารถแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ (1) Hydrolysis (enzyme proteolysis) ที่ peptide bond (2) Deamination อาจมี Decarboxylation และการ Transamination - ขึ้นกับ pH (6-7) ไม่เหมาะคือ pH 4.5, 7.2 ได้ผลผลิต คือ กรดอะมิโน แอมโมเนีย และกรดอินทรีย์

  15. โปรตีนที่เข้ามาในกระเพาะรูเมนโปรตีนที่เข้ามาในกระเพาะรูเมน • คือ Dietary protein + Dietary nitrogenous organic compound+ Mucoprotein • จุลินทรีย์ที่เกี่ยวข้องคือ • Gram negative Bacteroides, Selenomonas, Butyrivibrio • Protozoa : Entodonium, Eudiplodium, Ospryocolex

  16. การย่อยโปรตีนในกระเพาะรูเมนการย่อยโปรตีนในกระเพาะรูเมน • โปรตีนในอาหารและน้ำลายถูกย่อยได้เป็นกรดอะมิโนโดยPeptidase (ขบวนการไฮโดรไลซีส)และเกิดการดึงกลุ่มอะมิโนออกได้แอมโมเนีย • ใช้ Endopeptidase และ Exopeptidaseหลั่งออกนอกเซลล์ ดึงมาไฮโดรไลซีสต่อภายในเซลล์ • ไนโตรเจนที่ไม่ใช่โปรตีนในอาหารและน้ำลายถูกย่อยโดย urease ได้แอมโมเนีย และ ATP

  17. ผลผลิตในกระเพาะรูเมน • กรดอะมิโนที่เกิดจากการย่อยโปรตีน : บางส่วนถูกเปลี่ยนเป็น Short chain fatty acid ซึ่งอาจถูกใช้ไปในการสังเคราะห์เซลล์ของแบคทีเรียโดยตรง : ถูกดูดซึมผ่านผนังกระเพาะรูเมนไปใช้ประโยชน์ • แอมโมเนียที่เกิดขึ้น : บางส่วนถูกจุลินทรีย์ดึง N ไปสังเคราะห์เป็น Microbial protein : ดูดซึมผ่านผนังกระเพาะรูเมนเข้าเส้นเลือดไปที่ตับ

  18. ส่วนประกอบภายในกระเพาะรูเมนส่วนประกอบภายในกระเพาะรูเมน Protein in feedNPN hydrolysis peptides+ amino acids deamination NH3 + short chain fatty acids + microbial cells (protein) Absorbed to liver To small intestine

  19. ปัจจัยที่มีผลต่อการย่อยปัจจัยที่มีผลต่อการย่อย • คุณสมบัติของโปรตีนหรือการละลายได้ของโปรตีนในอาหาร(protein solubility) • วิธีการให้อาหาร มีผลต่อ retention time และ rate of passage ขนาดของชิ้นอาหารมีผลเช่นกัน • ปัจจัยที่เกิดจากตัวสัตว์ เช่นชนิดของจุลินทรีย์ในรูเมน โคมี retention time สูงกว่าแกะ (แกะมีการเคี้ยวมากครั้งกว่า)

  20. เกิดอะไรขึ้นกับแอมโมเนียที่ตับเกิดอะไรขึ้นกับแอมโมเนียที่ตับ • แอมโมเนียจัดเป็นสารพิษชนิดหนึ่งถ้ามีปริมาณมากเกินไปในเลือด ร่างกายต้องมีกลไกในการกำจัด หรือทำให้มีความเป็นพิษลดลง • จึงเกิดการเปลี่ยน NH3 urea เกิดขึ้นที่เซลล์ตับ • ยูเรียที่เกิดขึ้นจะถูกกำจัดออกจากร่างกายทางปัสสาวะ แต่บางส่วนสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้

  21. วัฏจักรของยูเรีย (Urea cycle) คืออะไร คือ วงจรการสังเคราะห์และการหมุนเวียนของ urea ในร่างกาย Urea in saliva NH3 urea Urea in urine NH3 in rumen Urea in blood liver

  22. การใช้ประโยชน์ของ Urea เป็นอย่างไร • บางส่วนจะดูดซึมกลับเข้ากระแสเลือด เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ • ที่ผนังกระเพาะรูเมน Urea จะถูกดูดซึมกลับเข้าในกระเพาะ จุลินทรีย์มี Urease ได้แอมโมเนีย • ที่ต่อมน้ำลาย urea จะถูกเก็บสะสมไว้ และกลับเข้าสู่กระเพาะอีกครั้งเมื่อมีการกินอาหารหรือเคี้ยวเอื้อง จุลินทรีย์จะใช้ประโยชน์จาก N ที่เป็นส่วนประกอบใน urea ได้ดี

  23. ข้อดีของการมีวัฏจักรของยูเรียข้อดีของการมีวัฏจักรของยูเรีย • มีแหล่งไนโตรเจนสำรองให้จุลินทรีย์ในการสังเคราะห์โปรตีน โดยไม่ต้องใช้ไนโตรเจนจากอาหารเพียงอย่างเดียว แหล่งของไนโตรเจนในร่างกายได้แก่ • ไนโตรเจนจากอาหาร • ไนโตรเจนจาก Urea ที่กลับเข้ากระเพาะรูเมน 95 % N- recycle • ไนโตรเจนจาก NPN (urea) ในน้ำลาย 60-70 % N ในน้ำลาย • ไนโตรเจนจากเซลล์ในระบบทางเดินอาหาร

  24. แบคทีเรียและ โปรโตซัว ใช้ประโยชน์จากโปรตีนต่างกัน - แบคทีเรีย หลั่งเอนไซม์ออกจากเซลล์ hydrolysis จึงเกิดภายนอกเซลล์ amino acids + peptides ถูกนำเข้าในเซลล์ deamination เกิดภายในเซลล์ Amino acid เป็นโปรตีนของจุลินทรีย์ บางส่วน amino acid เป็น straight or branch chain VFA, fatty acids, NH3, CO2, CH4 + heat - โปรโตซัวhydrolysis และ deamination เกิดขึ้นภายในเซลล์ เนื่องจากลักษณะการกินอาหารเป็นแบบเขมือบ (engulfment)

  25. ข้อดีของการมีจุลินทรีย์ข้อดีของการมีจุลินทรีย์ ทำให้สัตว์เคี้ยวเอื้องใช้ประโยชน์จากอาหารที่มีโปรตีนต่ำได้ • จุลินทรีย์สามารถสังเคราะห์กรดอะมิโน ได้เพียงพอกับความต้องการ โดยเฉพาะ lysine และ methionine • เมื่อจุลินทรีย์ถูกย่อยในกระเพาะแท้และลำไส้เล็กได้กรดอะมิโน ซึ่งจะถูกนำไปใช้ประโยชน์ได้โดยตรง เนื่องจากโปรตีนในจุลินทรีย์เป็นโปรตีนที่มีคุณภาพใกล้เคียงกับโปรตีนที่ร่างกายของสัตว์ต้องการ

  26. ข้อเสียของการมีจุลินทรีย์ข้อเสียของการมีจุลินทรีย์ ในการสังเคราะห์โปรตีนโดยจุลินทรีย์จำเป็นต้องใช้แหล่งพลังงานด้วย เช่น คาร์โบไฮเดรตที่ย่อยได้ง่าย • ถ้ามีพลังงานไม่เพียงพอจุลินทรีย์จะไม่สามารถใช้ประโยชน์จากโปรตีนในอาหารได้หมด โปรตีนบางส่วนจึงถูกขับออกทางปัสสาวะ • โปรตีนที่กินถูกใช้โดยจุลินทรีย์ก่อน

  27. โปรตีนไหลผ่าน (Bypass protein) คืออะไร คือ โปรตีนที่ไม่ถูกย่อยโดยเอนไซม์จากจุลินทรีย์หรือไม่ถูกย่อยในกระเพาะรูเมน แต่สามารถถูกย่อยเมื่อไหลผ่านเข้าไปในกระเพาะแท้หรือลำไส้เล็ก • โปรตีนไหลผ่านจะถูกย่อยโดยเอนไซม์จาก กระเพาะแท้ , ลำไส้เล็ก และตับอ่อน • ได้ผลผลิตคือ amino acidsซึ่งดูดซึมไปใช้ประโยชน์ได้ในร่างกายโดยตรง

  28. โปรตีนไหลผ่านใช้ประโยชน์อย่างไรโปรตีนไหลผ่านใช้ประโยชน์อย่างไร ต้องไม่ให้จุลินทรีย์เข้าใช้ประโยชน์ • วิธีการป้องกันไม่ให้โปรตีนถูกย่อยสลายในกระเพาะรูเมน (protected protein และ protected amino acids) เช่น การเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพของอาหาร - ใช้ความร้อน หรือ ใช้สารเคมีในการลดอัตราการย่อยสลายของโปรตีน

  29. การใช้ความร้อนและสารเคมีการใช้ความร้อนและสารเคมี - การใช้ความร้อน เช่นการสกัดน้ำมันจากเมล็ดพืช การอัดเม็ดอาหารด้วยความร้อน ทำให้เกิด protein denature จึงทำให้ N-solubility ลดลง หรือ ทำให้เกิดขบวนการ maillard reaction (carbohydrate+ protein) - การใช้สารเคมี ทำให้เกิด linkage between protein molecule • Formaldehyde, Tannin , Glutaraldehyde, Glyxal • และ Hexa methelene tetranine

  30. โปรตีนที่เข้าสู่กระเพาะแท้ประกอบด้วยโปรตีนที่เข้าสู่กระเพาะแท้ประกอบด้วย • โปรตีนในอาหารที่ไม่ถูกย่อยโดยจุลินทรีย์ • เซลล์ของจุลินทรีย์ • เซลล์ของเยื่อบุทางเดินอาหารที่หลุดลอกออกมา การย่อยโปรตีนในกระเพาะจะใช้เอนไซม์จากตัวสัตว์ เช่น pepsin + HCl ได้กรดอะมิโนที่สามารถดูดซึมผ่านผนังกระเพาะแท้ได้

  31. โปรตีนที่เข้ามาในลำไส้เล็กโปรตีนที่เข้ามาในลำไส้เล็ก • : โปรตีนในอาหารที่ไม่ถูกย่อยโดยจุลินทรีย์ • : เซลล์ของจุลินทรีย์ • : เซลล์ของเยื่อบุทางเดินอาหารที่หลุดลอกออกมา • : เอนไซม์จากกระเพาะแท้ เอนไซม์ที่ใช้ย่อยผลิตจากตับอ่อนและลำไส้เล็กเท่านั้น • เอนไซม์ที่สำคัญ : trypsin, chymotrypsin, carboxypeptidase, nuclease และ phosphodiesterase

  32. การย่อยโปรตีนในลำไส้เล็กการย่อยโปรตีนในลำไส้เล็ก Abomasum undigested protein+ microbial protein +endogenous protein+ enzyme proteolytic enzyme amino acids Small intestine Absorbed amino acids to portal vein To large intestine

  33. ผลผลิตจากการย่อยในลำไส้เล็กผลผลิตจากการย่อยในลำไส้เล็ก คือ กรดอะมิโนชนิดต่าง ๆ ซึ่งจะถูกดูดซึมไปใช้ประโยชน์ตามส่วนต่างๆของร่างกาย มีการใช้ประโยชน์ คือ : สังเคราะห์เป็นโปรตีนในร่างกาย : เปลี่ยนรูปไปเพื่อใช้เป็นแหล่งพลังงาน : สังเคราะห์เป็นกรดอะมิโนชนิดอื่นๆผ่านขบวนการ transamination : สังเคราะห์เป็นกลูโคส หรือไขมัน

  34. การใช้ประโยชน์จากกรดอะมิโนการใช้ประโยชน์จากกรดอะมิโน • : เริ่มจากดึงกลุ่มอะมิโน (deamination)ออกจากกรดอะมิโน โดยการ oxidative, non oxidative deamination ,transamonation • N ที่เป็นองค์ประกอบของ amino group จะถูกกำจัดออกจากร่างกายโดยการ deamination แล้วเปลี่ยนให้เป็นurea • ร่างกายขับ urea ออกทางปัสสาวะ • โครงสร้างอื่นที่เป็นองค์ประกอบจะถูกนำไปใช้ประโยชน์ เช่น นำไปสังเคราะห์เป็นคาร์โบไฮเดรต เปลี่ยนเป็นไขมัน หรือ เปลี่ยนเป็นน้ำคาร์บอนไดออกไซด์ และพลังงาน เป็นต้น

  35. ประเภทของกรดอะมิโน 1. Glucogenic amino acids : กรดอะมิโนที่สามารถเปลี่ยนเป็น pyruvate, alpha ketoglutarate, succinyl CoA, fumarate oxaloacetate ซึ่งเป็นตัวกลางในวิถีไกลโคไลซีส และ วัฏจักรเครบส์ได้ 2. Ketogenic amino acids : กรดอะมิโนที่สามารถเปลี่ยนเป็น acetate, acetyl CoA เพื่อให้พลังงานหรืออาจเปลี่ยนเป็นกรดไขมัน และ สารคีโตนได้

  36. โปรตีนที่เข้ามาในลำไส้ใหญ่ประกอบด้วยโปรตีนที่เข้ามาในลำไส้ใหญ่ประกอบด้วย • โปรตีนจากอาหารที่ไม่ถูกย่อยในกระเพาะรูเมนและ ลำไส้เล็ก • เซลล์ของจุลินทรีย์ที่ไม่ได้ถูกย่อยในลำไส้เล็ก • เซลล์เยื่อบุของระบบทางเดินอาหาร • น้ำย่อยจากลำไส้เล็ก ตับอ่อน และน้ำดีบางส่วน

  37. ผลผลิตจากการย่อยโปรตีนในลำไส้ใหญ่ผลผลิตจากการย่อยโปรตีนในลำไส้ใหญ่ คือ NH3 , volatile fatty acid, microbial cell NH3: ดูดซึมกลับไปใช้ประโยชน์ในร่างกายได้บางส่วน : บางส่วนถูกนำไปสร้างเป็น urea : บางส่วนนำไปสังเคราะห์เป็นจุลินทรีย์ volatile fatty acid: ดูดซึมกลับไปใช้ได้บางส่วน microbial cell: ไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้

  38. กรดอะมิโนนำไปใช้ประโยชน์อย่างไรกรดอะมิโนนำไปใช้ประโยชน์อย่างไร เมื่อดูดซึมเข้าไปในเลือด จากนั้นจะถูกนำไปส่วนต่างๆของร่างกาย ใช้ประโยชน์คือ : สังเคราะห์โปรตีน : ใช้เป็นพลังงาน : ใช้สังเคราะห์กลูโคส : ใช้สังเคราะห์ไขมัน

  39. กรดอะมิโนที่ร่างกายต้องการกรดอะมิโนที่ร่างกายต้องการ • กรดอะมิโนที่ไม่จำเป็นที่ร่างกายสามารถสังเคราะห์ได้จากสารประกอบอื่น และสารตัวกลาง (intermediate)ในขบวนการ glycolysis และ kreb’s cycle เช่น กลูตาเมท ออกซาโลอะเซทเตทและไพรูเวท • การสร้างกรดอะมิโนที่จำเป็น ใช้ขบวนการ transamination

  40. NPN= non protein nitrogen • สารประกอบที่มีธาตุ C,H,O,N เช่นเดียวกับโปรตีน แต่ไม่ใช่โปรตีน เป็นสารประกอบที่พบได้ทั้งในพืชและสัตว์ เช่น amides, nitrate, alkaloids, ammonium salts • ปกติใช้สารประกอบนี้ในอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้องได้สารประกอบ amides ในพืชที่พบมากคือ glutamine, asparagines

  41. สารที่นิยมใช้มาก คือ ยูเรีย(urea) ไบยูเรท ( biuret) เกลือแอมโมเนีย (ammonium salts=(NH4)2HPO4) และมูลสัตว์ - starea(ธัญพืชบดละเอียดผสมยูเรียแบบextrude) • ยูเรีย(urea) เป็น diamides เป็นผลผลิตที่ได้จากขบวนการ catabolism ของร่างกาย มีไนโตรเจน 46 % คิดเป็นโปรตีน 288% • ไม่ควรใช้ในสัตว์กระเพาะเดี่ยว เพราะย่อยได้แอมโมเนียอย่างเร็ว จะเป็นพิษ จุลินทรีย์ที่ไส้ติ่งใช้ได้แต่โปรตีนที่เกิดขึ้นใช้ประโยชน์ไม่ได้ในตัวสัตว์

  42. การใช้สารประกอบไนโตรเจนที่ไม่ใช่โปรตีนการใช้สารประกอบไนโตรเจนที่ไม่ใช่โปรตีน • Urea เมื่อเข้ากระเพาะถูกย่อยโดยเอนไซม์ureaseได้เป็นammonia (มีการสลายตัวอย่างรวดเร็ว) • Ammoniaจะถูกจุลินทรีย์นำไปทำปฏิกิริยากับ keto-acidที่ผลิตได้จากคาร์โบไฮเดรต ได้เป็นกรดอะมิโน นำไปสร้างเป็นโปรตีนในเซลของจุลินทรีย์ จะสร้างได้มากหรือน้อยขึ้นกับพลังงานที่มีอยู่ในอาหาร(NFE) โดยเฉพาะคาร์โบไฮเดรตที่ย่อยง่าย (ready fermentable carbohydrate, RFC)

  43. การสลายตัวของ NPN ในกระเพาะรูเมน Urea + H2Ourease 2NH3+ CO2 CHO enz จุลินทรีย์ VFA+ keto acids amino acids microbial protein free amino acids absorbed

  44. การใช้สารประกอบไนโตรเจนที่ไม่ใช่โปรตีนการใช้สารประกอบไนโตรเจนที่ไม่ใช่โปรตีน • ยูเรียสลายตัวเป็นแอมโมเนียได้เร็ว ถ้าจุลินทรีย์ใช้ไม่ทัน จะมีความเข้มข้นสูงในกระเพาะรูเมน • การดูดซึมแอมโมเนียไปที่ตับ เพื่อลดความเป็นพิษโดยเปลี่ยนเป็นยูเรีย กระเพาะที่มีค่าความเป็นด่างสูงจะดูดซึมได้เร็ว ดังนั้นจึงทำให้ยูเรียสลายตัวให้ช้าลง โดยเปลี่ยนเป็นไบยูเรทเพื่อความปลอดภัยของสัตว์

  45. วิธีการใช้สารประกอบไนโตรเจนที่ไม่ใช่โปรตีนวิธีการใช้สารประกอบไนโตรเจนที่ไม่ใช่โปรตีน • Urea molasses liquid • Urea molasses block • ใส่ในอาหารข้น ไม่ควรเกิน 3% หรือ คิดเป็น 30%ของไนโตรเจนในอาหาร • ทำฟางอบยูเรีย หรือฟางหมักยูเรีย 4-6 %

  46. ข้อควรระวังในการใช้ยูเรียข้อควรระวังในการใช้ยูเรีย • ใช้กับสัตว์ที่กระเพาะพัฒนาแล้วเท่านั้น • รสชาติยูเรียไม่ดีควรใส่อาหารที่มีรสชาติผสมเช่น กากน้ำตาล • จุลินทรีย์จะต้องใช้เวลาในการปรับตัว • ไม่ควรให้ยูเรียที่เป็นก้อน ใช้ไม่ควรเกิน 3% ของอาหารข้นหรือ 1%ของวัตถุแห้งที่กิน (30g:100kgBW) ไม่เกิน 30%total N • ไม่มีฟอสฟอรัส กำมะถัน พลังงาน ควรเสริม • ให้มีสัดส่วน N:S=12-15:1 ในโค 10:1 ในแกะ

  47. การคิดเทียบหน่วยของโปรตีนเพื่อต้นทุนค่าอาหารการคิดเทียบหน่วยของโปรตีนเพื่อต้นทุนค่าอาหาร

More Related