420 likes | 647 Views
ยินดีต้อนรับ ทุกท่าน. ยินดีต้อนรับสู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อทอง. สร้างสรรค์ทีมงาน บริการเชิงรุก ปฏิรูปสุขภาพ. วิสัยทัศน์. ประชาชนสุขภาพดี เป็นเครือข่ายเข้มแข็ง ปี 2556. พันธกิจ. พัฒนาเครือข่ายให้เข้มแข็ง และส่งเสริมให้ประชาชน มีส่วนร่วมในการสร้างสุขภาพดีอย่างยั่งยืน.
E N D
ยินดีต้อนรับ ทุกท่าน
ยินดีต้อนรับสู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อทอง
สร้างสรรค์ทีมงาน บริการเชิงรุก ปฏิรูปสุขภาพ
วิสัยทัศน์ ประชาชนสุขภาพดี เป็นเครือข่ายเข้มแข็ง ปี 2556
พันธกิจ พัฒนาเครือข่ายให้เข้มแข็ง และส่งเสริมให้ประชาชน มีส่วนร่วมในการสร้างสุขภาพดีอย่างยั่งยืน
เป้าหมาย ประชาชนสุขภาพดี ชุมชนเข้มแข็ง สังคมอยู่เย็นเป็นสุข
แผนที่สังเขปอำเภอหนองม่วง อ.ไพศาลี จ.นครสวรรค์ อ.โคกเจริญ อ.ตากฟ้า จ.นครสวรรค์ <--- ถนนพหลโยธิน ---> ต.ดงดินแดง ต.บ่อทอง อ.สระโบสถ์ ต.ชอนสมบูรณ์ ต.ยางโทน สัญลักษณ์ ถนนลาดยาง โรงพยาบาล สอ. สสอ. ที่ว่าการอำเภอ ต.หนองม่วง อ.บ้านหมี่ ต.ชอนสารเดช อ.โคกสำโรง
นายวิทูล วงษ์บุดดี ผอ.รพ.สต. นางสุพร ชินพร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ นายสุขสำราญ ธนภูมิปัญญา จพง.สาธารณสุขชำนาญงาน นางสาวขนิษฐา ยอดคำ จพง.ทันตฯชำนาญงาน นางไอรัชดา อยู่โต พ.ข้างเก้าอี้ทันตฯ นายประเสริฐ พรมแสน ลูกจ้างชั่วคราว นายณัฐกานต์ กาเผือก แพทย์แผนไทย นายสมศักดิ์ พรมแสน คนงาน นางสาวเพ็ญยุพา พัดเงิน จพง.ธารณสุขปฎิบัติงาน
ที่ตั้งและเขตติดต่อ ที่ตั้งของศูนย์สุขภาพชุมชน ตั้งอยู่ที่หมู่ที่4 บ้านหนองปลวก ตำบลบ่อทอง อยู่ทางด้านทิศเหนือ ของอำเภอหนองม่วง ห่างจากจังหวัดตามเส้นทางถนนพหลโยธิน ประมาณ 63 กิโลเมตร ห่างจากอำเภอหนองม่วง 4กิโลเมตร
ประวัติความเป็นมา เริ่มดำเนินการก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ.2524 โดยนายสังเวียน และนางจรูญ กาหลง เป็นผู้มอบที่ดินให้จำนวน 1 ไร่ 2 งาน ได้รับงบประมาณจากทางราชการก่อสร้างเป็นอาคารสำนักงาน 1 หลัง และบ้านพักเจ้าหน้าที่ 2 หลัง และได้เปิดดำเนินการปี พ.ศ.2525 ต่อมาในปีงบประมาณ 2540 ได้รับงบประมาณให้สร้างเป็นสถานีอนามัยขนาดใหญ่และได้รับบริจาคที่ดินเพิ่ม อีกจำนวน 2 งาน รวมเป็น 2 ไร่ มีสำนักงานเป็นอาคารสถานีอนามัยขนาดใหญ่ ได้บ้านพักเพิ่มอีก 2 หลัง และได้เปิดอย่างเป็นทางการเมื่อ 20 มีนาคม 2541ในปี 2547ได้ต่อเติมด้านล่างอาคารใช้งบประมาณ 377,000บาท โดยเงินบริจาคและได้ยกฐานะเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 1 กรกฎาคม 2552
จำนวนประชากร ประชากร ชาย 3,261 คน หญิง 3,270 คน รวม 6,531 คน หลังคาเรือน 1,716 หลัง จำนวนหมู่บ้าน 12 หมู่บ้าน
อัตราป่วยของผู้ป่วยนอกต่อประชากรพันคนอัตราป่วยของผู้ป่วยนอกต่อประชากรพันคน
ปัญหาสุขภาพที่สำคัญ ผู้สูงอายุ :ปี 2553ร้อยละ12 ของประชากร ป่วยเป็นโรคเรื้อรังร้อยละ 60 โรคเรื้อรัง : ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน การคัดกรองกลุ่มเสี่ยงร้อยละ30การตั้งครรภ์ในวัยเรียน(Teenage Pregnancy) :คนท้อง 38 ราย ต่ำกว่า 20 ปี6 รายคิดเป็นร้อยละ 15.78
โครงการชุมชนร่วมใจต้านภัยโรคเบาหวานโครงการชุมชนร่วมใจต้านภัยโรคเบาหวาน
ด้านประชาชน จุดเด่น 1.ประชาชนสนใจดูแลสุขภาพมากขึ้น 2.มีการคัดกรองสุขภาพโดย อสม.และ จนท. 3.มีชมรมสร้างสุขภาพ 4.มีการตรวจสุขภาพประจำเดือนและประจำปี
ด้านประชาชน จุดด้อย 1.ประชาชนยังกินอาหารรส หวาน มัน เค็ม 2.ประชาชนยังดื่มสุรา สูบบุหรี่ 3.ผู้ป่วยให้ความสำคัญเรื่องปากท้องมากกว่าสุขภาพ 4.ยังมีคนเป็นโรคแทรกซ้อนจากเบาหวาน 5.ขาดการดูแลสุขภาพตนเอง เช่นการกินยา ออกกำลังกาย การกินอาหาร
ด้านประชาชน สิ่งที่ต้องการให้เกิด 1.มีชมรมสร้างสุขภาพที่ดำเนินการต่อเนื่อง 2.ผู้ป่วยเบาหวานไม่มีโรคแทรกซ้อน 3.ให้มีผู้ป่วยลดลง 4.อยากให้มีคนดูแลผู้ป่วยแบบใกล้บ้านใกล้ใจ
ด้านภาคีเครือข่าย จุดเด่น 1.การทำงานเป็นทีมร่วมมือกันทุกหน่วยงาน อบต.อสม.จนท.สธ.ตำรวจ และโรงงาน จุดด้อย 1.ท้องถิ่นยังไม่มีนโยบายในการดูแลสุขภาพประชาชนอย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรม
ด้านภาคีเครือข่าย สิ่งที่ต้องการให้เกิด 1.ให้ท้องถิ่นมีการจัดการดูแลสุขภาพประชาชนโดยตรง 2.รณรงค์ออกคัดกรองเบาหวาน ความดันร่วมกัน 3.มีนโยบายสาธารณะที่ชัดเจน
ด้านกระบวนการ จุดเด่น 1.มีการคัดกรองกลุ่มกลุ่มเสี่ยง 2.มีการเยี่ยมผู้ป่วยที่บ้าน 3.มีการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ จุดด้อย 1.ขาดการดำเนินงานตามแผน 2.วัสดุอุปกรณ์ไม่เพียงพอ
ด้านกระบวนการ สิ่งที่ต้องการให้เกิด 1.มีแนวทางในการดูแลกลุ่มผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง 2.มีการตรวจคัดกรองอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ 3.มีนโยบายสาธารณะที่ชัดเจน
ด้านพื้นฐาน จุดเด่น 1.อสม.ให้ความร่วมมือในการติดตามและเฝ้าระวังโรค 2.มีการอบรมเพิ่มความรู้ให้แก่ประชาชน จุดด้อย 1.ขาดข้อมูลพื้นฐาน ขาดการเก็บข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน 2.ขาดทักษะในการดำเนินการ
การมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างยั่งยืนการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างยั่งยืน ด้านพื้นฐาน สิ่งที่ต้องการให้เกิด 1.การจัดทำข้อมูลประชาชนกลุ่มเสี่ยงและจัดเก็บข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน 2.จัดอบรมฟื้นฟูเพื่อเพิ่มทักษะในการทำงาน
โครงการชุมชนร่วมใจต้านภัยโรคเบาหวานโครงการชุมชนร่วมใจต้านภัยโรคเบาหวาน กระบวนการดำเนินงาน • 1.แต่งตั้งคณะทำงานประกอบด้วยผู้บริหารท้องถิ่นกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน จนท.จากสาธารณสุขอำเภอ จนท.จากรพ.หนองม่วง ครู เจ้าอาวาส และ อสม.เพื่อเพิ่มทักษะในการทำงาน • 2.ประชุมหาแนวทางร่วมกัน
โครงการชุมชนร่วมใจต้านภัยโรคเบาหวานโครงการชุมชนร่วมใจต้านภัยโรคเบาหวาน กระบวนการดำเนินงาน • 3. จัดกิจกรรมรวมพลัง ต้านภัยเบาหวานครบวงจรโดยใช้นโยบาย 3 วัน สร้างสุขของจังหวัดลพบุรี ในวันพุธ 3 อ. อาหาร / อารมณ์ / ออกกำลังกาย และใช้ 2 ย.คือ เยี่ยมบ้านผู้ป่วยและการดูแลการกินยาโดยจัดอบรมเข้าค่ายผู้ป่วยเบาหวานและจัดอบรม อสม.ในการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน
เยี่ยมบ้าน ออกกำลังกาย 3 อ. 2 ย. อาหาร อารมณ์ ยา
โครงการชุมชนร่วมใจต้านภัยโรคเบาหวานโครงการชุมชนร่วมใจต้านภัยโรคเบาหวาน กระบวนการดำเนินงาน • 4. จัดมหกรรมตรวจคัดกรองสุขภาพสุขภาพประจำปีแก่ประชาชนกลุ่ม 15 ปี ขึ้นไปทุกคน
โครงการชุมชนร่วมใจต้านภัยโรคเบาหวานโครงการชุมชนร่วมใจต้านภัยโรคเบาหวาน กระบวนการดำเนินงาน • 5.จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 7 ไม่ 6 ต้องคือไม่อ้วน ไม่เค็ม ไม่หวาน ไม่มัน ไม่เครียด ไม่ดื่ม ไม่สูบ ต้องออกกำลังกาย ต้องเพิ่มผักผลไม้ ต้องอารมณ์ดี ต้องกินอาหารปลอดภัย ต้องควบคุมน้ำหนัก ต้องตรวจคัดกรองสุขภาพประจำปี
โครงการชุมชนร่วมใจต้านภัยโรคเบาหวานโครงการชุมชนร่วมใจต้านภัยโรคเบาหวาน กระบวนการดำเนินงาน • 6.จัดกิจกรรมออกกำลังกายทุกหมู่บ้าน แอบิค ไม้พลอง ยางยืดพิชิตโรค เม็ดมะขามวิเศษ ถุงมหัศจรรย์ • 7.จัดตั้งคลินิกไร้พุงทุกหมู่บ้าน
โครงการชุมชนร่วมใจต้านภัยโรคเบาหวานโครงการชุมชนร่วมใจต้านภัยโรคเบาหวาน กระบวนการดำเนินงาน • 8.จัดเวทีถอดบทเรียนของการดำเนินงานระดับหมู่บ้าน ตำบล • 9.สรุปผลการดำเนินงานและจัดทำรายงานผลการดำเนินงาน
โครงการชุมชนร่วมใจต้านภัยโรคเบาหวานโครงการชุมชนร่วมใจต้านภัยโรคเบาหวาน งบประมาณ • จากศูนย์สาธารณสุขมูลฐานภาคกลาง 10,000 บาท • จาก สสส.100,000 บาท • จากกองทุนสุขภาพตำบล 60,000 บาท
โครงการชุมชนร่วมใจต้านภัยโรคเบาหวานโครงการชุมชนร่วมใจต้านภัยโรคเบาหวาน ระยะเวลาการดำเนินงาน • มิถุนายน 2554 – มิถุนายน 2555
R2R • พฤติกรรมการดูแลสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้เป็นอย่างไร
ความเป็นมาของปัญหา • DM เป็น TOP 5 • ขาดทีมคุณภาพดูแล • ผู้ป่วยขาดความรู้ • ขาดนัดขาดยา • ขาดการดูแลต่อเนื่อง • ผู้ป่วยมีโรคแทรกซ้อน
วัตถุประสงค์ • ศึกษาบริบทวิถีชีวิต ความเชื่อ ภาวะสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ • ศึกษาพฤติกรรมด้านการรับประทานอาหาร,ออกกำลังกาย,การใช้ยาและการจัดการความเครียดของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ • ค้นหาแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ 8
สิ่งที่คาดว่าจะได้รับสิ่งที่คาดว่าจะได้รับ 1.ประชาชนมีสุขภาพดี 2.เกิดการบูรณาการทุกภาคส่วน 3.เป็นชุมชนต้นแบบในการลดเสี่ยงโรคเบาหวาน 4.เกิดนวตกรรมชุมชนที่เกิดขึ้นต่อไป