1 / 140

“ เจาะลึก...กฎระเบียบบรรจุภัณฑ์อาหารสู่ตลาดโลก ” กฎระเบียบและมาตรฐานของบรรจุภัณฑ์อาหาร ของประเทศญี่ปุ่น

“ เจาะลึก...กฎระเบียบบรรจุภัณฑ์อาหารสู่ตลาดโลก ” กฎระเบียบและมาตรฐานของบรรจุภัณฑ์อาหาร ของประเทศญี่ปุ่น. หนึ่งน้ำ นาวาบุญนิยม namchai21@hotmail.com  081-927-9579 กรรมการ ด้านสมาชิกและประชาสัมพันธ์ (2553-2554) สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) ส.ส.ท.

darrius
Download Presentation

“ เจาะลึก...กฎระเบียบบรรจุภัณฑ์อาหารสู่ตลาดโลก ” กฎระเบียบและมาตรฐานของบรรจุภัณฑ์อาหาร ของประเทศญี่ปุ่น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. “เจาะลึก...กฎระเบียบบรรจุภัณฑ์อาหารสู่ตลาดโลก”กฎระเบียบและมาตรฐานของบรรจุภัณฑ์อาหารของประเทศญี่ปุ่น“เจาะลึก...กฎระเบียบบรรจุภัณฑ์อาหารสู่ตลาดโลก”กฎระเบียบและมาตรฐานของบรรจุภัณฑ์อาหารของประเทศญี่ปุ่น หนึ่งน้ำ นาวาบุญนิยม namchai21@hotmail.com 081-927-9579 กรรมการ ด้านสมาชิกและประชาสัมพันธ์ (2553-2554) สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) ส.ส.ท. Technology Promotion Association (Thailand-Japan) www.tpa.co.th 25 ส.ค. 2553,15.30-16.30 = 60 min (15 video, 30 presentation, 15 Q&A, suggestions)

  2. กฎระเบียบและมาตรฐานของบรรจุภัณฑ์อาหารในประเทศญี่ปุ่นกฎระเบียบและมาตรฐานของบรรจุภัณฑ์อาหารในประเทศญี่ปุ่น • อดีต/ปัจุบัน/อนาคตของการพัฒนาบุคคลากรด้านบรรจุภัณฑ์อาหารปลอดภัย • จากงานลงนามความร่วมมือไทย-ญี่ปุ่นด้านบรรจุภัณฑ์อาหารปลอดภัย • ประวัติความเป็นมา ทำไมต้องทำอาหารปลอดภัย • หน่วยงานที่รับผิดชอบ • ชมวีดีโอ ขั้นตอนการตรวจสอบอาหารนำเข้าประเทศญี่ปุ่น ๑๔ นาที • กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอาหารปลอดภัย • มาตรฐาน JAS • กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์

  3. อดีต 16 มิ.ย.2553 ในวันเปิดงาน PROPAK ASIA 2010“Packaging Design Exhibition” (I) เสวนา “แนวคิดและมุมมองของบรรจุภัณฑ์อาหารไทย” • คุณเพ็ชร ชินบุตร ผู้อำนวยการสถาบันอาหาร • คุณเอนก จงเสถียร กรรมการบริหาร บ. เอ็มเอ็มพี คอร์ปอเรชั่น จำกัด • Mr.Makoto ISEDA กรรมการผู้จัดการบจก.แพคเกจจิ้งเอ็นจิเนียริ่งเน็ตเวิร์ค(ไทยแลนด์) (II) ลงนามบันทึกข้อตกลง MOU ระหว่าง TPA (ส.ส.ท) - JPI (III) เสวนา“นโยบายและแนวทางในการส่งเสริมการส่งออกอาหารไปยังประเทศญี่ปุ่น” • คุณนฤมล สงวนวงศ์ สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ กระทรวงเกษตร • คุณไพฑูรย์ พูลสวัสดิ์ สำนักงานพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าพืช กรมวิชาการเกษตร • คุณดารณี หมู่ขจรพันธ์ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข • คุณอรไท เล็กสกุลชัย หัวหน้ากลุ่มงานเอเชียตะวันออกโอเชียเนียและอาเซียน กรมส่งเสริมการส่งออก (IV) บรรยาย “ความต้องการของตลาดอาหารในประเทศญี่ปุ่น” .....บทเกริ่นนำ ประชาสัมพันธ์ พฤติกรรมด้านบริโภคของประเทศญี่ปุ่น / การออกแบบวิศวกรรมด้านบรรจุภัณฑ์ Mr. Hirotaka SASAKI วิทยากรบรรจุภัณฑ์อาหารยอดนิยมผู้สนใจฟังกว่า 300 คน

  4. Today 25 ส.ค.2553“เจาะลึก...กฎระเบียบบรรจุภัณฑ์อาหารสู่ตลาดโลก” • ความสำคัญของมาตรฐานบรรจุภัณฑ์อาหารในประเทศไทยคุณกรรณิการ์ โตประเสริฐพงศ์ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม • กฎระเบียบข้อบังคับผลิตภัณฑ์อาหาร คุณวารุณี แสนสุภา สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข • มาตรฐานอาหารฮาลาล คุณวินัย ดะห์ลัน ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • กฎระเบียบและมาตรฐานของบรรจุภัณฑ์อาหารในสหภาพยุโรป • การตรวจวิเคราะห์บรรจุภัณฑ์อาหาร คุณสุมาลี ทั่งทิพยกุล กรมวิทยาศาสตร์บริการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • กฎระเบียบและมาตรฐานของบรรจุภัณฑ์อาหารในประเทศญี่ปุ่น คุณหนึ่งน้ำ นาวาบุญนิยม สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)

  5. What’s Next ? Next (1) 17 ก.ย.2553“เตรียมดูงานTokyo Pack 2010” 9.00 – 16.301,500/1,700 B Next (2) 30 ก.ย.2553 สอบวัดระดับมาตรฐานเทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์(ญี่ปุ่น) ครั้งที่ 1 Next (3) 3~9 ต.ค.2553 ทัศนศึกษาดูงาน (เชิงบูรณาการและต่อยอด)Tokyo Pack 2010โตเกียว ญี่ปุ่น Next (4) ? ต.ค.2553 อบรมเทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์(ญี่ปุ่น) เดือนละครั้ง“โครงการพัฒนาผู้เชี่ยวชาญด้านบรรจุภัณฑ์อาหาร(ญี่ปุ่น)” - - - - -

  6. Next (1) 17 ก.ย. 2553นวัตกรรมใหม่การออกแบบเทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์ไทย สัมมนา “เตรียมดูงานTokyo Pack 2010” - แนวโน้มการออกแบบบรรจุภัณฑ์ในประเทศญี่ปุ่น -TokyoPack2010 นิทรรศการบูรณาการบรรจุภัณฑ์ใหญ่ 1 ใน 3 ของโลก, ใหญ่สุดในเอเชีย จัดทุก 2 ปี 20 เท่าของ PROPAK2010ไบเทคบางนา โดย Mr. MAKOTO ISEDA, คุณหนึ่งน้ำ นาวาบุญนิยม วันเวลา วันศุกร์ที่ 17 กันยายน 2553 เวลา 9.00 – 16.30 น.(ลงทะเบียน 8.30 น.) สถานที่ ห้องสัมมนา สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น) ซ.พัฒนาการ 18 ค่าใช้จ่าย ราคาสมาชิก 1,500 + VAT7% 105 = 1,605 บาท บุคคลทั่วไป 2,000 + VAT7% 140 = 2,140 บาท

  7. Next (2) 30 ก.ย. 2553นวัตกรรมใหม่การออกแบบเทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์ไทย • สอบวัดระดับมาตรฐานเทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์(ญี่ปุ่น) ครั้งที่ 1 Next (4) ?-10-2553 นวัตกรรมใหม่การออกแบบเทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์ไทย อบรมเทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์ (ญี่ปุ่น) เดือนละครั้ง “โครงการพัฒนาผู้เชี่ยวชาญด้านบรรจุภัณฑ์อาหาร(ญี่ปุ่น)” และบริการให้คำปรึกษาโรงงานด้านเทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์

  8. Next (3) 3~9 ต.ค.2553นวัตกรรมใหม่การออกแบบเทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์ไทย ทัศนศึกษาดูงาน (เชิงบูรณาการและต่อยอด) โตเกียว ญี่ปุ่น -บริษัทบรรจุภัณฑ์ใหญ่ที่สุด บริษัทผลิตอาหารใหญ่ที่สุดในญี่ปุ่น -TokyoPack2010 นิทรรศการบูรณาการบรรจุภัณฑ์ใหญ่ 1 ใน 3 ของโลก, ใหญ่ที่สุดในเอเชีย 20 เท่าของ PROPAK2010ไบเทคบางนา จัดทุก 2 ปี 1. รศ. ดร. มังกร โรจน์ประภากร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร 2. Mr. MAKOTO ISEDA 3. คุณหนึ่งน้ำ นาวาบุญนิยม 4. ว่าที่ ร.ต. อภิชาติ ยิ้มแสง สสท วันเวลา คืนวันอาทิตย์ที่ 31- วันเสาร์ที่ 9 ตุลาคม 2553 (ปิดรับ10 ก.ย. 2553) ค่าใช้จ่าย ราคาสมาชิก 65,000 บุคคลทั่วไป 75,000 บาท (จำนวน 20 คน)

  9. กฎระเบียบและมาตรฐานของบรรจุภัณฑ์อาหารในประเทศญี่ปุ่นกฎระเบียบและมาตรฐานของบรรจุภัณฑ์อาหารในประเทศญี่ปุ่น • อดีต/ปัจุบัน/อนาคตของการพัฒนาบุคคลากรด้านบรรจุภัณฑ์อาหารปลอดภัย • จากงานลงนามความร่วมมือไทย-ญี่ปุ่นด้านบรรจุภัณฑ์อาหารปลอดภัย • ประวัติความเป็นมา ทำไมต้องทำอาหารปลอดภัย • หน่วยงานที่รับผิดชอบ • ชมวีดีโอ ขั้นตอนการตรวจสอบอาหารนำเข้าประเทศญี่ปุ่น ๑๔ นาที • กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอาหารปลอดภัย • มาตรฐาน JAS • กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์

  10. สินค้าซึ่งผู้ซื้อต้องการซื้อ (ผู้ซื้อไม่ซื้อสินค้าที่อยากขาย) ผู้ซื้อสินค้า หมายถึง ลูกค้าที่จ่ายเงินซื้อสินค้าคำว่า ลูกค้า ในภาษาญี่ปุ่น (お客様/Okyaku-sama) มีคำต่อท้ายยกย่อง เช่นเดียวกับ คำว่า พระเจ้า (神様/kami-sama )และพระพุทธรูป(仏様/hotoke-sama) นั่นคือ ลูกค้า มีความสำคัญดุจดังพระเจ้าหรือพระพุทธเจ้า นั่นเองทำไมจึงเป็นเช่นนั้น : เพราะเงินจากการซื้อสินค้า ทำให้ผู้ผลิต ผู้บรรทุก ผู้ขาย สามารถนำไปซื้ออาหารบริโภคได้

  11. ผักที่ลูกค้าจะบริโภค (ตกลงซื้อ) • ในโตเกียว มีร้านอาหารไทยร้านเล็ก ๆ หลายร้าน ย่านสถานีโอคุโบะ ใกล้ชินยุคุ มีร้านหนึ่งมีเก้าอี้เพียง 6 ที่ แต่ปรากฎว่า ลูกค้าเต็มตลอด จนต้องยืนเข้าแถวรอหน้าร้าน เจ้าของร้านคนไทยจะเชิญชวนลูกค้าว่าผักอร่อย สะอาด และสด เนื่องจากใช้ผักสดในญี่ปุ่น ซึ่งอร่อยมากกว่าเมืองไทย นั่นคือ ลูกค้าต้องการบริโภคผักอร่อยสะอาดและสดใหม่เกษตรกรผู้ปลูกผักในญี่ปุ่นต้องพยายามปลูกสิ่งที่ลูกค้าซื้อ แต่ไม่ปลูกมากเพื่อจะขาย เกษตรกรจะบริโภคเฉพาะผักที่ไม่สวย (แต่รสชาติและความสดคงเดิม) • ในญี่ปุ่นจะทิ้งหัวไชเท้าที่มีแกนสีดำ รากบัวที่ติดโคลน ผักเปื้อนดิน เพราะการล้างให้สะอาดใช้เวลานาน

  12. ผู้บริโภคไม่ซื้อ สำคัญกว่ารัฐบาลกลางและรัฐท้องถิ่น • เนื้อวัวญี่ปุ่นมีมาตรฐานเข้มกว่าของสหรัฐอเมริกา คนญี่ปุ่น (ลูกค้า) จะไม่ซื้อมาตรฐานอเมริกัน เนื่องจากเกิดโรควัวบ้าในญี่ปุ่น ทำให้กฎหมายเข้มงวดมาก เพื่อให้คนญี่ปุ่นซื้อเนื้อวัว แต่ผู้บริโภคไม่ซื้อ สำคัญกว่ารัฐบาลและรัฐท้องถิ่น • เมื่อเปลี่ยนรัฐบาลใหม่ สหรัฐอเมริกาจะมาเจรจาเพื่อให้ญี่ปุ่นนำเข้าเนื้อวัวมากขึ้น แม้จะมีแรงกดดันจากต่างประเทศ แต่คนญี่ปุ่นก็ไม่ซื้อ นั่นคือ ลูกค้าสำคัญมาก ดังนั้น จึงต้องนำเสนออาหารปลอดภัยสร้างความเชื่อถือให้เกิดความสบายใจ • นอกจากนี้ ต้องแสดงสถานที่ผลิต ส่วนประกอบภายในอาหารนั้น บนฉลาก ปัจจุบัน กำลังทบทวนการใช้ฉลากบอกมาตรฐานเกษตร (JAS) ในวงกว้าง เช่น ในสมาพันธ์วิทยาศาสตร์การบริโภคภาคเอกชน สภาแม่บ้านบริษัทตัวแทนอุตสาหกรรม วิชาการ เป็นต้น

  13. สารเคมี ยาฆ่าแมลงและยาฆ่าหญ้าตกค้าง ในการปลูกผัก สิ่งที่สำคัญ คือ ระวังสารเคมี ยาฆ่าแมลงและยาฆ่าหญ้าตกค้างในผักในญี่ปุ่นมีบทบัญญัติ 3 ประเภท1 มาตรฐานสารเคมีตกค้าง 799 รายการ2 ยกเว้น 65 รายการ (ชัดเจนว่าไม่มีอันตรายต่อสุขภาพมนุษย์) 3 นอกนั้น ห้ามเกิน 0.01ppm (ในอาหาร 1 กิโลกรัมสด สารเคมีกำจัดศัตรูต้องไม่เกิน 0.01mg ) หากตรวจพบสารเคมีตกค้างในสินค้าอาหารที่นำเข้าประเทศญี่ปุ่น • รัฐบาลจะเผยแพร่ในเว็บไซต์ ทั้งชื่อผู้นำเข้าประเทศญี่ปุ่น ชื่อบริษัทส่งออกในเอเชีย สินค้านำเข้าจากจีนละเมิดมาก และสินค้าจากประเทศไทย ก็มากเช่นกันนั่นคือ นอกจากจะต้องเพิ่มประสิทธิภาพของห้องปฏิบัติการแห่งชาติแล้ว ทั้งรัฐและเอกชนต้องส่งเสริมการผลิตแบบไม่ใช้ยาฆ่าแมลง ยาฆ่าหญ้า

  14. การสร้างความเชื่อมั่นให้ผู้บริโภค "ความสบายใจด้านอาหาร” • ประเทศไทยต้องย้อนกลับไปใช้แบบ 40 ปีก่อน ซึ่งปลูกพืชผักแบบอินทรีย์โดยไม่ใช้สารเคมีเกษตร ผลผลิตอร่อย สะอาด สด จะเป็น "ครัวของโลก" ได้อย่างแท้จริง • ญี่ปุ่นมีระบบตรวจสอบและการรับรองอาหารเกษตรอินทรีย์ หากเกษตรกรไทยได้รับการรับรอง และผลผลิตได้รับการรับรองว่าเป็น พืชผักอินทรีย์ (หากไม่มีใบรับรองดังกล่าว ในญี่ปุ่นจะติดฉลากว่าเป็นผักอินทรีย์ไม่ได้) • หากได้รับการรับรองอาหารอินทรีย์ในญี่ปุ่น การรับรอง GAP ยุโรปก็ไม่ยากดังนั้น ขอให้ภาครัฐและเอกชนทำงานร่วมกันส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ ให้กับเกษตรกรไทย เพื่อสร้างครัวไทยให้”เป็นครัวของโลก” อย่างแท้จริง

  15. สถานภาพบรรจุภัณฑ์อาหารปลอดภัยในญี่ปุ่น/ไทยสถานภาพบรรจุภัณฑ์อาหารปลอดภัยในญี่ปุ่น/ไทย • ในประเทศญี่ปุ่น พบปัญหาสารเคมีตกค้างในเกี๊ยวซ่าที่นำเข้าจากจีนลูกค้าญี่ปุ่นจะไม่ซื้ออาหารจากจีน, เวลาจะซื้อจะอ่านฉลากบนบรรจุภัณฑ์ หากพบว่าผลิตจากประเทศจีน หรือใช้วัตถุดิบจากประเทศจีน จะไม่ซื้อ • นั่นคือ ขาดความเชื่อมั่นใจในอาหารซึ่งนำเข้าจากประเทศจีนทำให้ปัจจุบัน คนซื้อสินค้าญี่ปุ่นมากขึ้น แม้ว่าจะแพงกว่า เนื่องจากให้ความสำคัญกับความปลอดภัยของอาหารมากกว่า • หากพบว่าบนฉลากระบุว่าผลิตจากประเทศจีน ทุกคนจะไม่ซื้อสินค้านั้น ทำให้เกิดการระบุบนฉลากว่า ไม่ใช้ผลิตภัณฑ์จากประเทศจีน • ไทยต้องปรับปรุง ผลิตตามกฎหมายความปลอดภัยอย่างเคร่งครัด

  16. สิ่งที่ต้องพิจารณาในการใช้บรรจุภัณฑ์สินค้า(จากเอกสารบรรยายของ Mr. Hirotaka SASAKI) A ด้านความปลอดภัย・สุขอนามัย (สบายใจ) B ด้านสิ่งแวดล้อม・ทรัพยากร C ด้านการใช้งาน (UD, Universal Design) D ด้านการผลิต・ต้นทุน

  17. บทบาทของการแปรรูป และการส่งออกอาหารในบรรจุภัณฑ์(จากเอกสารบรรยายของ Mr. Hirotaka SASAKI) 1 กระจายจำหน่ายได้กว้างไกลทั่วโลก 2 ปกป้องรักษาชีวิตมนุษย์ 3 ป้องกันแหล่งอาหารและถนอมอาหาร 4 คงความอร่อย 5 ให้ความสนุก 6 ช่วยให้การกระจายได้ทั่วประเทศ

  18. ① ความอร่อยลดลง ② ปนเปื้อนสิ่งแปลกปลอม ③ จุลินทรีย์ขยายปริมาณ ④ ส่วนประกอบรั่ว/เปลี่ยนไป ⑤ ปนเปื้อนมลพิษ ⑥ แตกหัก ขาดหายไป ⑦ บาดเจ็บ (แทง ตัดขาด) ⑧ ความเป็นพิษ โรคภัย ⑨ ผลกระทบต่อชีวิต ⑩ เก็บคืนสินค้าทั้งหมด ⑪ การกระทำที่ผิดกฎหมาย ⑫ ชื่อเสียงของบริษัทเสียหาย ⑬ ภัยต่อความอยู่รอดธุรกิจ ⑭ ใช้ทรัพยากรอาหารไม่คุ้มค่า ปัญหาจากความไม่ปลอดภัยและสุขอนามัยไม่ดี(จากเอกสารบรรยายของ Mr. Hirotaka SASAKI)

  19. การจัดการปัญหาที่เกิดขึ้น(จากเอกสารบรรยายของ Mr. Hirotaka SASAKI) ① ด้านเคมี ② ด้านกายภาพ ③ ด้านชีวภาพ ④ ด้านประสาทสัมผัส

  20. สาเหตุของการเสื่อมสภาพทางเคมี(จากเอกสารบรรยายของ Mr. Hirotaka SASAKI) ① องค์ประกอบ/วัสดุ/โครงสร้าง/บรรจุภัณฑ์ ② สารเติมแต่งในบรรจุภัณฑ์ ③ องค์ประกอบของเนื้อใน ④ ปฏิกิริยาเนื้อในและบรรจุภัณฑ์ ⑤ ซีลปิดผนึก(pinhole, barrier) ⑥ อุณหภูมิ แสง ความชื้น กระแทก ก๊าซ เวลา

  21. สาเหตุของการเสื่อมสภาพทางกายภาพ(จากเอกสารบรรยายของ Mr. Hirotaka SASAKI) ①ส่วนประกอบ องค์ประกอบ ส่วนผสมของวัสดุบรรจุภัณฑ์ ②ลักษณะรูปทรง โครงสร้างความแข็งแรงของวัสดุบรรจุภัณฑ์ ③ส่วนผสม น้ำหนัก รูปร่าง ของเนื้อใน ④การชนกระแทกของสินค้าบรรจุภัณฑ์ (สะเทือน/ตก/แรงดัน) ⑤อุณหภูมิ แสงสว่าง ความชื้น ระยะเวลา ก๊าซ

  22. สาเหตุของการเสื่อมสภาพทางชีวภาพ(จากเอกสารบรรยายของ Mr. Hirotaka SASAKI) ① สิ่งแปลกปลอม ② จุลินทรีย์ ③ พืช สัตว์ แมลง ④ ซีล การปิดผนึก (pinhole) ไม่ดี ⑤ วัสดุ องค์ประกอบ ความแข็งแรง ไม่ดี ⑥Barrierต่ำ(ก๊าซ ไอน้ำ แสง)อุณหภูมิ ความชื้น การชนกระแทก

  23. สาเหตุของการเสื่อมสภาพทางสัมผัส(จากเอกสารบรรยายของ Mr. Hirotaka SASAKI) ① ชื่อสินค้า ความหมายไม่ชัดเจน➩ผิด ② เปิดยาก・แน่นเกินไป➩ บาดเจ็บ ③ ปิดไม่ได้ ➩หก เปื้อน ③ จับถือไม่ดี ลื่น ➩ บาดเจ็บ เปื้อน ④ ไม่มั่นคง(ความมั่นคง ความสบายใจ)➩ บาดเจ็บ ⑤ ความต่อเนื่องของภาพลักษณ์ เนื้อใน➩ ผิด ⑥ สี รูปร่าง โครงสร้าง ไม่เหมาะ ➩ ผิด บาดเจ็บ

  24. การจัดการประเด็นปัญหา(จากเอกสารบรรยายของ Mr. Hirotaka SASAKI) ① การทดลอง การวิเคราะห์ ความละเอียด ความชัดเจน ของการประเมิน ② ข้อกฎหมาย กฎระเบียบและการปฏิบัติ ③ ทราบเนื้อใน วัสดุบรรจุภัณฑ์ การเก็บรักษา การกระจายสินค้า การจัดเรียงหน้าร้าน ④ รักษาสัญญาที่ให้ไว้กับลูกค้า ⑤ พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างวันที่ควรบริโภค คุณภาพการเก็บรักษา ⑥ การวางแผนทดลองและการดำเนินการ โปรแกรมชัดเจน

  25. ① สิ่งแวดล้อมโลกเปื้อน ถูกทำลาย ② ทรัพยากรโลกขาดแคลน สิ้นเปลือง ③ บริษัทดำเนินการไม่เหมาะ ④ ความเชื่อถือของบริษัทลดลง การแก้ไขจัดการปัญหาที่เกิดขึ้น ① ความพยายามภาพลักษณ์ของบริษัท ② ปฏิบัติตามกฎหมาย(กฎหมายรีไซเคิล) ③ เล็กลง บางลง เบาลง น้อยลง (เน้นคุณภาพ) ④ การตัดสินอย่างองค์รวม ⑤ การควบคุม ลดการสูญเปล่า ⑥ ความพยายามอย่างต่อเนื่อง ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ทรัพยากร(จากเอกสารบรรยายของ Mr. Hirotaka SASAKI)

  26. ① ขายไม่ออก ② ขาดความแตกต่าง ③ เน้นการแข่งขันด้านราคา ④ การเพิ่มมูลค่าไม่พอ ⑤ ผลกำไรบริษัทลดลง ⑥ ความสามารถในการแข่งขันของบริษัทลดลง การแก้ไขจัดการปัญหาที่เกิดขึ้น ① พัฒนาเทคนิคการพัฒนาสินค้า ② ใช้ระบบ PAT ③ พัฒนาเทคนิค การวิเคราะห์ ประเมิน ส่งเสริม ④ พัฒนาเทคนิคการจัดการคุณภาพ ⑤ พัฒนาบุคลากร พิจารณาซ้ำ ปัญหาที่เกิดจากการใช้/เข้าใจยากและการแก้ไข(จากเอกสารบรรยายของ Mr. Hirotaka SASAKI)

  27. ① ราคาสินค้าแพงไป ② ขายไม่ได้ ③ ไม่ตอบสนองลูกค้า ④ ต้นทุนการผลิตเพิ่ม ⑤ หยุดการพัฒนาสินค้าใหม่ การแก้ไขจัดการปัญหาที่เกิดขึ้น ① พัฒนาสินค้าใหม่ด้วยการสร้างความแตกต่าง ② พลังบูรณาการภายในบริษัท ③ เพิ่มประสิทธิภาพให้สูงขึ้น ④ ตัดสินการวางแผนนำเข้าเครื่องจักรการผลิตอย่างบูรณาการ ⑤ การพัฒนาร่วมกัน ⑥ การพัฒนาบุคลากร ปัญหาจากประสิทธิภาพการผลิตต่ำ ต้นทุนสูง(จากเอกสารบรรยายของ Mr. Hirotaka SASAKI)

  28. ① ควบคุมจุลินทรีย์ ② ควบคุมสิ่งแปลกปลอม ③ ควบคุมซีล ④ ควบคุมก๊าซ ⑤ ควบคุมน้ำ ⑥ ควบคุมแสง ⑦ ทดสอบสินค้า กระจายสินค้า ⑧ ทดสอบการเก็บวิเคราะห์ ประเมิน ⑨ พิจารณาสะดวกใช้งาน(UD) ⑩ ประเมินทางรับรู้รส (รสชาติ) ⑪ ควบคุมอุณหภูมิ ⑫ วางแผนการทดลอง เทคนิคที่จำเป็นต่ออาหารในบรรจุภัณฑ์(จากเอกสารบรรยายของ Mr. Hirotaka SASAKI)

  29. ② การควบคุมสิ่งแปลกปลอม(จากเอกสารบรรยายของ Mr. Hirotaka SASAKI) a การควบคุมคุณภาพ bการพัฒนาบุคคล c สะอาด เรียบร้อย สวยงาม ครบ 5 ส d ความจำเป็นว่าสินค้าต้องสามารถเชื่อถือได้ สิ่งแปลกปลอมเป็นจุดเสียที่หนักที่สุดของสินค้า

  30. ควบคุมซีล(จากเอกสารบรรยายของ Mr. Hirotaka SASAKI) a ซีล(ปิดตาย)ต้องเก็บรักษาได้นาน b ซีล (ปิดตาย)คือ อายุขัยของอาหารในบรรจุภัณฑ์ c ซีลที่ดีจะต้องพิจารณา 7 องค์ประกอบ dควบคุมระดับμm องค์ประกอบสำคัญของบรรจุภัณฑ์อาหาร

  31. ④ การควบคุมก๊าซ(จากเอกสารบรรยายของ Mr. Hirotaka SASAKI) a ควบคุมปฏิกิริยาทางชีวภาพและทางเคมี b พิจารณาองค์ประกอบ สัดส่วนก๊าซ c พิจารณาความเข้มข้นก๊าซออกซิเจนที่เหลืออยู่ d พิจารณาการแลกเปลี่ยนก๊าซ e ควบคุมก๊าซไม่ได้หมด คงความอร่อย เก็บได้นาน เป็นสิ่งสำคัญ

  32. ⑧ การเก็บ วิเคราะห์ ประเมินผลการทดลอง(จากเอกสารบรรยายของ Mr. Hirotaka SASAKI) a การตัดสินทางวิทยาศาสตร์ว่าสามารถเป็นสินค้าได้ b การวางแผนการทดลองและความแม่นยำ c การวางแผนทดลองการเสื่อมสภาพที่จำเป็น d ระยะเวลา ค่าใช้จ่าย การตัดสิน สิ่งสำคัญ คือ ทำให้เป็นสินค้าได้หรือไม่

  33. ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบทางเทคนิคที่จำเป็นและความสอดคล้องกัน(จากเอกสารบรรยายของ Mr. Hirotaka SASAKI)

  34. ความสัมพันธ์ระหว่างสุขภาพและข้อบกพร่องด้านความปลอดภัย สุขอนามัย(จากเอกสารบรรยายของ Mr. Hirotaka SASAKI)

  35. กฎระเบียบและมาตรฐานของบรรจุภัณฑ์อาหารในประเทศญี่ปุ่นกฎระเบียบและมาตรฐานของบรรจุภัณฑ์อาหารในประเทศญี่ปุ่น • อดีต/ปัจุบัน/อนาคตของการพัฒนาบุคคลากรด้านบรรจุภัณฑ์อาหารปลอดภัย • จากงานลงนามความร่วมมือไทย-ญี่ปุ่นด้านบรรจุภัณฑ์อาหารปลอดภัย • ประวัติความเป็นมา ทำไมต้องทำอาหารปลอดภัย • หน่วยงานที่รับผิดชอบ • ชมวีดีโอ ขั้นตอนการตรวจสอบอาหารนำเข้าประเทศญี่ปุ่น ๑๔ นาที • กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอาหารปลอดภัย • มาตรฐาน JAS • กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์

  36. 3. (ประวัติความเป็นมา) กฎหมายอาหารปลอดภัยในญี่ปุ่น

  37. กฎระเบียบและมาตรฐานของบรรจุภัณฑ์อาหารในประเทศญี่ปุ่นกฎระเบียบและมาตรฐานของบรรจุภัณฑ์อาหารในประเทศญี่ปุ่น • อดีต/ปัจุบัน/อนาคตของการพัฒนาบุคคลากรด้านบรรจุภัณฑ์อาหารปลอดภัย • จากงานลงนามความร่วมมือไทย-ญี่ปุ่นด้านบรรจุภัณฑ์อาหารปลอดภัย • ประวัติความเป็นมา ทำไมต้องทำอาหารปลอดภัย • หน่วยงานที่รับผิดชอบ • ชมวีดีโอ ขั้นตอนการตรวจสอบอาหารนำเข้าประเทศญี่ปุ่น ๑๔ นาที • กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอาหารปลอดภัย • มาตรฐาน JAS • กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์

  38. กฎระเบียบและมาตรฐานของบรรจุภัณฑ์อาหารในประเทศญี่ปุ่น4. หน่วยงานที่รับผิดชอบ (1) • MAFF: Ministry of Agriculture, Forestry & Fisheries http://www.maff.go.jp/ • JAS Association http://www.jasnet.or.jp/ • MHLW: Ministry of Health, Labor and Welfare http://www.mhlw.go.jp/ • Food Safety Commission, Cabinet Office http://www.fsc.go.jp/ • Consumer Affairs Agency, Cabinet Office http://www.caa.go.jp/

  39. กฎระเบียบและมาตรฐานของบรรจุภัณฑ์อาหารในประเทศญี่ปุ่น4. หน่วยงานที่รับผิดชอบ (2) • Ministry of Health, Labor and Welfare (MHLW), the Pharmaceutical and Food Safety Bureau, Department of Food Safety, • Purpose to protect the health of the public through the strengthening measures for the assurance of food safety

  40. Structure & Duties of Department of Food Safety, Pharmaceutical and Food Safety Bureau 1. Policy Planning and Communication Division (General coordination of responsibilities under the jurisdiction of the Department of Food Safety, risk communication) 1.1 Office of International Food Safety (General coordination of international affairs under the jurisdiction of the Department) 1.2 Office of Port Health Administration (Quarantine business, inspection of imported food) 2. Standards & Evaluation Division (Establishment of specifications/standards for food, food additives, pesticide residues, animal drug residues, food containers, and food labeling) 2.1 Office of Health Policy on Newly Developed Food (Labeling of specified uses, nutrition labeling standards, foods with health claims, dietary supplements, safety assessment of genetically modified foods) 3. Inspection and Safety Division (Food inspection, health risk management such as measures for food poisoning, safety measures for poultry and livestock meat, dissemination and promotion of the HACCP approach, GLP, measures for environmental contaminants, sanitary control of rendering plants) 3.1 Office of Import Food Safety (Assurance of import food safety)

  41. กฎระเบียบและมาตรฐานของบรรจุภัณฑ์อาหารในประเทศญี่ปุ่นกฎระเบียบและมาตรฐานของบรรจุภัณฑ์อาหารในประเทศญี่ปุ่น • อดีต/ปัจุบัน/อนาคตของการพัฒนาบุคคลากรด้านบรรจุภัณฑ์อาหารปลอดภัย • จากงานลงนามความร่วมมือไทย-ญี่ปุ่นด้านบรรจุภัณฑ์อาหารปลอดภัย • ประวัติความเป็นมา ทำไมต้องทำอาหารปลอดภัย • หน่วยงานที่รับผิดชอบ • ชมวีดีโอ ขั้นตอนการตรวจสอบอาหารนำเข้าประเทศญี่ปุ่น ๑๔ นาที • กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอาหารปลอดภัย • มาตรฐาน JAS • กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์

  42. กฎระเบียบและมาตรฐานของบรรจุภัณฑ์อาหารในประเทศญี่ปุ่น (14 min) Video Presentation “How to Import Food Safety to JAPAN” http://www.mhlw.go.jp/topics/bukyoku/iyaku/syoku-anzen/syouhisya/061212/061212.html

  43. ญี่ปุ่นนำเข้าอาหารจากทั่วโลก คิดเป็นแคลอรี่ 60% ปี 2004 นำเข้าทางอากาศ/ทางเรือรวม1.8 ล้านครั้ง รวม 34 ล้านตัน ได้แก่ • อาหารเกษตร/แปรรูป 24.73 ล้านตัน (75%) • อาหารประมง/แปรรูป 2.99 ล้านตัน ( 9%) • อาหารปศุสัตว์/แปรรูป 2.73 ล้านตัน ( 8%) • อาหารอื่นๆ 1.41 ล้านตัน • ภาชนะ อุปกรณ์ .62 ล้านตัน • สารปรุงแต่งอาหาร .35 ล้านตัน • บรรจุภัณฑ์ .06 ล้านตัน • ของเด็กเล่น .03 ล้านตัน

  44. การจัดการอาหารปลอดภัยที่นำเข้าญี่ปุ่น 3 ขั้นตอน • จัดการ ณ ประเทศส่งออก (Control at Export Country) • จัดการ ณ จุดนำเข้า (Control at Import Point) • จัดการในการกระจายสินค้า (Domestic Logistics Control)

  45. ด่านตรวจกักกันอาหารนำเข้าญี่ปุ่นด่านตรวจกักกันอาหารนำเข้าญี่ปุ่น • ด่านรับยื่นตรวจกักกันอาหารนำเข้าญี่ปุ่น 31 แห่ง • ด่านกักกันที่มีแผนกตรวจสอบ 6 แห่ง • ศูนย์กักกันตรวจสอบอาหารนำเข้า 1 แห่ง • ด่านกักกันที่มีห้องปรึกษาการนำเข้าอาหาร 12 แห่ง • เจ้าหน้าที่ตรวจสอบสุขาภิบาลอาหาร 300 คน

  46. ผลการตรวจอาหารนำเข้าญี่ปุ่น ปี 2008 • ประชากรญี่ปุ่น 127 ล้านคน นักท่องเที่ยวต่างชาติ 6 ล้านคน • ญี่ปุ่นนำเข้าอาหารจากทั่วโลก คิดเป็นแคลอรี่ 60% • 2008 นำเข้าอาหาร 1,759,123 ครั้ง (31.551 ล้านตัน) • อาหารที่ตรวจ 193,917 ครั้ง (11%) โดยภาครัฐ (3%) โดยเอกชนที่ขึ้นทะเบียน (8%) โดยองค์กรสาธารณะในต่างประเทศ (0.4%) ผิด 1,150 ครั้ง (0.1%) • ทำลาย/ส่งคืน/ไม่ใช้เป็นอาหาร

More Related