740 likes | 1.68k Views
3 - 2. บทที่ 3 การวิเคราะห์งบการเงิน. 3 - 3. บทที่ 3 การวิเคราะห์งบการเงิน. 1. การวิเคราะห์อัตราส่วน 2. อัตราส่วนสภาพคล่อง 3. อัตราส่วนประสิทธิภาพการใช้สินทรัพย์ 4. อัตราส่วนการบริหารหนี้สิน 5. อัตราส่วนความสามารถในการทำกำไร 6. อัตราส่วนประเมินผลธุรกิจโดยรวม. 3 - 4.
E N D
3 - 2 บทที่ 3 การวิเคราะห์งบการเงิน
3 - 3 บทที่ 3 การวิเคราะห์งบการเงิน 1. การวิเคราะห์อัตราส่วน 2. อัตราส่วนสภาพคล่อง 3. อัตราส่วนประสิทธิภาพการใช้สินทรัพย์ 4. อัตราส่วนการบริหารหนี้สิน 5. อัตราส่วนความสามารถในการทำกำไร 6. อัตราส่วนประเมินผลธุรกิจโดยรวม
3 - 4 7. การวิเคราะห์แนวโน้ม 8. การใช้และข้อจำกัดของการวิเคราะห์อัตราส่วน 9. ปัญหาเกี่ยวกับ ROE 10. ย้อนรอยตัวเลข
เป็นการเปรียบเทียบเพื่อให้เห็นเป็นการเปรียบเทียบเพื่อให้เห็น สัดส่วนของตัวเลขต่างๆ ใน งบการเงิน เช่น การนำหนี้สิน มาเปรียบเทียบกับสินทรัพย์ การเปรียบเทียบนี้ เรียกว่า 3 - 5 1. การวิเคราะห์อัตราส่วน อัตราส่วนทางการเงิน การวิเคราะห์อัตราส่วน
3 - 6 อัตราส่วนมีประโยชน์อย่างไร 1. เป็นตัวเลขที่เป็นมาตรฐานช่วยในการเปรียบเทียบ 2. นำมาใช้เพื่อชี้ให้เห็นจุดเด่น และจุดด้อยของกิจการ
ถาม อัตราส่วนแบ่งได้กี่กลุ่ม แต่ละกลุ่มตอบคำถามอะไรบ้าง ? ตอบ แบ่งเป็น 5 กลุ่ม คือ 3 - 7 1. สภาพคล่อง (Liquidity) 2. ประสิทธิภาพการใช้สินทรัพย์ (Asset Management) 3. การบริหารหนี้สิน (Debt Management) 4. ความสามารถในการทำกำไร (Profitability) 5. ประเมินผลธุรกิจโดยรวม (Market Value)
Liquidity ความสามารถในการชำระ หนี้สินระยะสั้นที่ครบกำหนด 1. Asset Management ประสิทธิภาพในการใช้ สินทรัพย์ (amount of assets vs. sales) 2. Debt Management 3. การลงทุนในสินทรัพย์ทั้งสิ้น ได้เงินทุนจากหนี้สินเพียงไร 3 - 8
วัดประสิทธิภาพการบริหารงานวัดประสิทธิภาพการบริหารงาน ว่าบรรลุตามเป้าหมาย หรือไม่ ซึ่งพิจารณาจาก อัตราส่วน PM,ROE และROA Profitability 4. Market Value 5. ผู้ลงทุนคิดว่ากิจการเป็น อย่างไร ซึ่งพิจารณาจาก อัตราส่วน P/E และ M/B 3 - 9
สินทรัพย์ 20022001 เงินสดและหลักทรัพย์ฯ 10 80 ลูกหนี้การค้า 375 315 สินค้าคงเหลือ 615 415 รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 1,000 810 สินทรัพย์ถาวร 1,000 870 รวมสินทรัพย์ 2,000 1,680 3 - 10 บริษัท อัลไลด์ ฯ งบดุล 31 ธันวาคม (หน่วย – ล้าน $)
หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้นหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 20022001 เจ้าหนี้การค้า 60 30 ตั๋วเงินจ่าย 110 60 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 140 130 รวมหนี้สินหมุนเวียน 310 220 หนี้สินระยะยาว 754 580 รวมหนี้สิน 1,064 800 หุ้นบุริมสิทธิ์ (400,000 หุ้น) 40 40 หุ้นสามัญ (50 ,000,000 หุ้น) 130 130 กําไรสะสม 766 710 รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 896 840 รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 2,000 1,680 3 - 11
บริษัท อัลไลด์ ฯ งบกําไรขาดทุน (งวด 1 ปี สิ้นสุด 31 ธันวาคม หน่วย – ล้าน $) 2002 2001 ขายสุทธิ 3,000.0 2,850.0 ต้นทุนในการดําเนินงาน (ไม่รวมค่าเสื่อมราคาและค่าใช้จ่ายตัดบัญชี) 2,616.2 2,497.0 EBITDA 383.8 353.0 ค่าเสื่อมราคา 100.0 90.0 ค่าใช้จ่ายตัดบัญชี 0.0 0.0 ค่าเสื่อมราคาและค่าใช้จ่ายตัดบัญชี 100.0 90.0 EBIT 283.8 263.0 หัก ดอกเบี้ยจ่าย 88.0 60.0 EBT 195.8 203.0 ภาษี (40%) 78.3 81.2 กําไรสุทธิก่อนจ่ายเงินปันผลหุ้นบุริมสิทธิ์ 117.5 121.8 เงินปันผลหุ้นบุริมสิทธิ์ 4.0 4.0 กําไรสุทธิ 113.5 117.8 เงินปันผลหุ้นสามัญ 57.5 53.0 กําไรสะสมเพิ่มขึ้น 56.0 64.8 3 - 12
ข้อมูลต่อหุ้น :20022001 Common stock price $ 23.00 $ 26.00 Earnings per share (EPS) $ 2.27 $ 2.36 Dividends per share (DPS) $ 1.15 $ 1.06 Book value per share (BVPS) $ 17.92 $ 16.80 Cash flow per share (CFPS) $ 4.27 $ 4.16 3 - 13
ยอดคงเหลือ ณ 31 ธันวาคม 2001 บวก กำไรสุทธิประจำปี 2002 หัก เงินปันผลจ่ายผู้ถือหุ้นสามัญ ยอดคงเหลือ ณ 31 ธันวาคม 2002 (หน่วย : ล้าน $) 710.00 113.50 (57.50) 766.00 3 - 14 บริษัท อัลไลด์ ฟู้ด โปรดักส์ จำกัดงบกำไรสะสมสำหรับงวด 1 ปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2002
สินทรัพย์หมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน = 1. อัตราส่วนหมุนเวียน (Current ratio) = 3.2 บริษัท อัลไลด์ฯ = 1,000 310 สินทรัพย์หมุนเวียน - สินค้าคงเหลือ หนี้สินหมุนเวียน 2. อัตราส่วนหมุนเร็ว (Quick or Acid test ratio) = 385 310 = 1.2 บริษัท อัลไลด์ฯ= 3 - 15 2. อัตราส่วนสภาพคล่อง ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 4.2 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 2.1
3 - 16 ข้อสังเกต : Current และ Quick Ratio บริษัท อัลไลด์ฯ ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม CR 3.2 x 4.2 x QR 1.2 x 2.1 x สภาพคล่องต่ำกว่าค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม
1. อัตราการหมุนของสินค้า (Inventory turnover ratio) ยอดขาย สินค้าคงเหลือ = = 4.9 ครั้ง บริษัท อัลไลด์ฯ = 3,000 615 3 - 17 3. อัตราส่วนประสิทธิภาพการใช้สินทรัพย์ ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 9. 0 ครั้ง
อัตราการหมุนของสินค้าต่ำกว่าค่าเฉลี่ยอัตราการหมุนของสินค้าต่ำกว่าค่าเฉลี่ย ของอุตสาหกรรม ควรตรวจสอบว่าเหตุใดจึงมีสินค้าคงเหลือมากเกินไป คุณภาพและการบริหารสินค้ามีประสิทธิภาพหรือไม่ 3 - 18 ข้อสังเกต : อัตราการหมุนของสินค้า
ลูกหนี้การค้า ยอดขายเฉลี่ยต่อวัน ลูกหนี้การค้า ยอดขายต่อปี/365 = = 2. ระยะเวลาในการเก็บหนี้ถัวเฉลี่ย (DSO = Days sales outstanding) = 375 3,000 / 365 บริษัท อัลไลด์ฯ 375 8.2192 46 วัน = = 3 - 19 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 36 วัน
บริษัท อัลไลด์ ฯ เก็บเงินจากลูกหนี้ได้ช้ากว่า ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม บริษัทควรพิจารณานโยบาย การขายเชื่อและระยะเวลา ในการให้เครดิตแก่ลูกค้า 3 - 20 ข้อสังเกต :DSO
ยอดขาย สินทรัพย์ถาวรสุทธิ 3. อัตราการหมุนของสินทรัพย์ถาวร (Fixed assets turnover ratio) = บริษัท อัลไลด์ฯ 3,000 1,000 = 3.0 ครั้ง = ยอดขาย สินทรัพย์ทั้งสิ้น 4. อัตราการหมุนของสินทรัพย์ทั้งสิ้น (Total assets turnover ratio) = = 3,000 2,000 บริษัท อัลไลด์ฯ = 1.5 ครั้ง 3 - 21 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 3.0 ครั้ง ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 1.8 ครั้ง
บริษัท อัลไลด์ ฯ ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม FA TO 3. 0 x 3. 0 x TA TO 1. 5 x 1. 8 x อัตราการหมุนของสินทรัพย์ถาวรเท่ากับ ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม แต่อัตราการหมุนของสินทรัพย์ทั้งสิ้นต่ำกว่า ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรมเล็กน้อย ซึ่งสาเหตุ มาจากมีลูกหนี้และสินค้าคงเหลือมาก 3 - 22 ข้อสังเกต : อัตราการหมุนของ FA และ TA
ดอกเบี้ยจ่ายไม่เพิ่มขึ้นดอกเบี้ยจ่ายไม่เพิ่มขึ้น 3 - 23 4. อัตราส่วนการบริหารหนี้สิน ข้อควรพิจารณาในการจัดหาเงินโดยการกู้ยืม 1. ผู้ถือหุ้นมีอำนาจในการควบคุมกิจการคงเดิม โดยไม่ต้องลงทุนเพิ่ม 2. การกู้เงินเพิ่มขึ้นความเสี่ยงของเจ้าหนี้จะเพิ่มขึ้น 3. (กำไร - ดอกเบี้ยจ่าย) เป็นของผู้ถือหุ้น
3 - 24 ผลของการกู้ยืม บริษัท U (ไม่มีหนี้สิน) (บาท) สินทรัพย์หมุนเวียน 50 สินทรัพย์ถาวร 50 รวม 100 หนี้สิน 0 ส่วนของผู้ถือหุ้น 100 รวม 100
ภาวะปกติ เศรษฐกิจตกต่ำ (1) (2) ขาย ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน กำไรจากการดำเนินงาน ดอกเบี้ยจ่าย กำไรก่อนหักภาษี (EBT) ภาษี (40%) กำไรสุทธิ (NI) ROEU = NI / ส่วนของผู้ถือหุ้น = NI /100 100.00 70.00 30.00 0.00 30.00 12.00 18.00 18.00% 82.50 80.00 2.50 0.00 2.50 1.00 1.50 1.50% 3 - 25
บริษัท L (มีหนี้สิน) (บาท) สินทรัพย์หมุนเวียน 50 สินทรัพย์ถาวร 50 รวม 100 หนี้สิน (อัตราดอกเบี้ย 15 %) 50 ส่วนของผู้ถือหุ้น 50 รวม 100 3 - 26
ภาวะปกติ เศรษฐกิจตกต่ำ (1) (2) 100.00 70.00 30.00 7.50 22.50 9.00 13.50 27.00% 82.50 80.00 2.50 7.50 (5.00) (2.00) (3.00) (6.00%) ขาย ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน กำไรจากการดำเนินงาน ดอกเบี้ยจ่าย กำไรก่อนหักภาษี (EBT) ภาษี (40%) กำไรสุทธิ (NI) ROEL = NI / ส่วนของผู้ถือหุ้น = NI /50 3 - 27
หนี้สินทั้งสิ้น สินทรัพย์ทั้งสิ้น 1. อัตราส่วนหนี้สิน (Debt ratio) = บริษัท อัลไลด์ฯ = 310 + 754 2,000 = 1,064 2,000 = 53.2 % EBIT ดอกเบี้ยจ่าย 2. Time - interest - earned (TIE) = บริษัท อัลไลด์ฯ 283.8 88 = = 3.2 เท่า 3 - 28 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 40.0 % ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 6.0 เท่า
EBITDA coverage ratio EBITDA + Lease payments Interest + Loan repayments + Lease payments = 283.8 + 100 + 28 88 + 20 + 28 บริษัท อัลไลด์ฯ = 411.8 136 = 3.0 เท่า = 3 - 29 3. EBITDA Coverage Ratioคือ อัตราส่วนแสดงว่ากิจการมีกระแส เงินสดพอที่จะชำระค่าใช้จ่ายประจำทางการเงินได้เพียงไร ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 4.3 เท่า
บริษัท อัลไลด์ฯ ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม 53.2 % 3.2 x 3.0 x 40.0 % 6.0 x 4.3 x D/A TIE EBITDA coverage บริษัท อัลไลด์ฯ มีหนี้สินสูงกว่า ค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรม 3 - 30 ข้อสังเกต : อัตราส่วนการบริหารหนี้สิน
ความสามารถในการชำระดอกเบี้ยความสามารถในการชำระดอกเบี้ย ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม นอกจากนี้อัตราส่วน EBITDA ยัง แสดงว่ากระแสเงินสดรวมทั้งสิ้นจะ สามารถชำระค่าใช้จ่ายทางการเงิน ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรมด้วย ทำให้การจัดหาเงินจากการกู้ยืมใน อนาคตยากและอัตราดอกเบี้ยสูง 3 - 31
กำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญกำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ ยอดขาย 1. อัตรากำไรสุทธิ (Profit margin on sales) = 113.5 3,000 บริษัท อัลไลด์ฯ = 3.8 % = 3 - 32 5. อัตราส่วนความสามารถในการทำกำไร ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 5.0 %
บริษัท อัลไลด์ฯ ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม PM 3. 8 % 5. 0 % PM บริษัท อัลไลด์ฯ ต่ำกว่าค่าเฉลี่ย ของอุตสาหกรรม อาจมีสาเหตุมาจาก ต้นทุนสูงเกินไป บริษัทมีหนี้สินสูง จึงต้องจ่ายดอกเบี้ยสูง ทำให้กำไรสุทธิต่ำ 3 - 33 ข้อสังเกต : อัตรากำไรสุทธิต่อยอดขาย
EBIT สินทรัพย์ทั้งสิ้น 2. Basic Earning Power(BEP) = 283.8 บริษัท อัลไลด์ฯ = 2,000 = 14.2 % ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 17.2 % 3 - 34
บริษัท อัลไลด์ฯ ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม 14.2 % 17.2 % BEP BEP ไม่นำค่าภาษีและดอกเบี้ยจ่ายมาคำนวณ จึงมี ประโยชน์ในการเปรียบเทียบสำหรับกิจการที่มีอัตรา ภาษี และโครงสร้างของเงินทุนที่ใช้หนี้สินต่างกัน บริษัท อัลไลด์ฯ BEP ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม จึงต้องปรับปรุงแก้ไขการบริหารสินทรัพย์ต่อไป 3 - 35 ข้อสังเกต : BEP
3. อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ [Return on total assets (ROA) หรือ Return on Investment (ROI)] กำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ สินทรัพย์ทั้งสิ้น = 113.5 2,000 = = 5.7 % บริษัท อัลไลด์ฯ 4. อัตราผลตอบแทนส่วนของผู้เป็นเจ้าของ [(Return on common equity (ROE)] กำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ ส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญ = บริษัท อัลไลด์ฯ 113.5 896 = = 12.7 % 3 - 36 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 9.0 % ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 15.0 %
บริษัท อัลไลด์ฯ ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม ROA ROE 5.7 % 9.0 % 12.7% 15.0 % บริษัท อัลไลด์ฯ ทั้ง ROA และ ROE ต่ำกว่า ค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรม เนื่องจาก BEP ต่ำ มีหนี้สินสูงกว่าค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม ทำให้ดอกเบี้ยจ่ายสูงและกำไรสุทธิลดลง 3 - 37 ข้อสังเกต : ROA และ ROE
ราคาตลาดต่อหุ้น กำไรสุทธิต่อหุ้น 1. ราคาตลาดกับกำไรสุทธิต่อหุ้น [Price/Earnings (P/E) Ratio] = 23.00 2.27 บริษัท อัลไลด์ฯ = = 10.1 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 12.5 3 - 38 6. อัตราส่วนประเมินผลธุรกิจโดยรวม
ราคาตลาดต่อหุ้น กระแสเงินสดต่อหุ้น 2. ราคาตลาดกับกระแสเงินสดต่อหุ้น (Price/Cash Flow Ratio) = 23.00 4.27 บริษัท อัลไลด์ฯ = 5. 4 = ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 6. 8 3 - 39
ส่วนของผู้ถือหุ้น จำนวนหุ้นสามัญที่อยู่ในมือบุคคลภายนอก มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น (Book value per share) = = 17.92 บาท บริษัท อัลไลด์ฯ = 896 50 ราคาตลาดต่อหุ้น มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น Market/book ratio (M/B) = บริษัท อัลไลด์ ฯ 23.00 17.92 = = 1.3 3 - 40 3. ราคาตลาดกับมูลค่าตาม บัญชีต่อหุ้น [Market/Book (M/B) Ratio] ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 1.7
P/E : บริษัทมีกำไรสุทธิ 1 บาท ผู้ลงทุนยินดีซื้อหุ้นราคาเท่าไร P/CF : บริษัทมีกระแสเงินสด 1 บาท ผู้ลงทุนยินดีซื้อหุ้นราคาเท่าไร M/B : บริษัทมีมูลค่าตามบัญชี 1 บาท ผู้ลงทุนยินดีซื้อหุ้นราคาเท่าไร อัตราส่วนทั้ง 3 แสดงว่าผู้ลงทุนมองอนาคตของกิจการอย่างไร 3 - 41 ข้อสังเกต : การประเมินผลธุรกิจโดยรวม บริษัท อัลไลด์ฯ ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม P/E P/CF M/B 10.1 x 12.5 x 5.4 x 6.8 x 1.3 x 1.7 x
ค่าเฉลี่ย อุตสาหกรรม บริษัท ข้อสรุป 1. LIQUIDITY 3.2 x 4.2 xPoor 1.2 x 2.1 x Poor Current Quick, or acid test 3 - 42 สรุป อัตราส่วนของบริษัท อัลไลด์ฯ
ค่าเฉลี่ย อุตสาหกรรม บริษัท ข้อสรุป 2. ASSET MANAGEMENT 4.9 x9.0 xPoor 46 days 36 daysPoor 3.0 x3.0 xOK 1.5 x1.8 xSomewhat low Inventory turnover Day sales outstanding (DSO) Fixed assets turnover Total assets turnover 3 - 43
ค่าเฉลี่ย อุตสาหกรรม บริษัท ข้อสรุป 3. DEBT MANAGEMENT Total debt to total assets Times interest earned (TIE) EBITDA coverage 53.2 % 40.0 %High (risky) 3.2 x 6.0 xLow (risky) 3.0 x 4.3 xLow (risky) 3 - 44
ค่าเฉลี่ย อุตสาหกรรม บริษัท ข้อสรุป 4. PROFITABILITY 3.8 %5.0 % Poor 14.2 %17.2 % Poor 5.7 %9.0 % Poor 12.7 %15.0 % Poor Profit margin on sales Basic earning power (BEP) Return on total assets (ROA) Return on common equity (ROE) 3 - 45
ค่าเฉลี่ย อุตสาหกรรม บริษัท ข้อสรุป 5. MARKET VALUE Price / earnings (P/E) Price / cash flow Market / book (M/B) 10.1 x12. 5 x Low 5.4 x6. 8 x Low 1.3 x1.7 x Low 3 - 46
3 - 47 7. การวิเคราะห์แนวโน้ม คือ การนำผลการวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินมาพล๊อตกราฟ ทำให้ทราบแนวโน้มของธุรกิจว่าดีขึ้นหรือเลวลง เพื่อประโยชน์ในการปรับปรุงแก้ไขต่อไป
ตัวอย่าง อัตราผลตอบแทนของผู้ถือหุ้นบริษัท อัลไลด์ฯ ตั้งแต่ ปี2000 ลดลง แต่ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรมค่อนข้างสม่ำเสมอ ROE (%) ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม 16 14 บริษัท 12 10 ปี 1998 1999 2000 2001 2002 3 - 48
3 - 49 8. การใช้และข้อจำกัดของการวิเคราะห์อัตราส่วน 1. บริษัทที่มีหลายแผนกซึ่งประกอบธุรกิจแตกต่างกัน การเปรียบ เทียบอัตราส่วนทางการเงินกับอุตสาหกรรมทำได้ยาก 2. บริษัทที่มีอัตราส่วนทางการเงินดีกว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรม อาจไม่จำเป็นต้องเป็นบริษัทที่มีประสิทธิภาพดีเสมอไป 3. ภาวะเงินเฟ้ออาจทำให้การเปรียบเทียบแนวโน้มไม่ถูกต้อง 4. สินค้าตามฤดูกาลจะทำให้อัตราส่วนเบี่ยงเบนไปได้
3 - 50 5. การตกแต่งบัญชี (window dressing) 6. วิธีการบัญชีที่แตกต่างกัน เช่น LIFO FIFO 7. การสรุปผลการวิเคราะห์อัตราส่วนทาง การเงินอาจมองในด้านดี หรือด้านไม่ดีก็ได้ 8. กิจการที่มีอัตราส่วนหนึ่งดี อีกอัตราส่วนไม่ดี สรุปไม่ได้ว่ากิจการมีจุดเด่น และจุดด้อยอะไรบ้าง
3 - 51 9. ปัญหาเกี่ยวกับ ROE 1. ROE ไม่คำนึงถึงความเสี่ยง 2. ไม่พิจารณาจำนวนเงิน 3. การจ่ายโบนัสตาม ROE ทำให้ พลาดโอกาสลงทุนในโครงการที่ดี