1 / 21

วิชาถ่ายภาพ

วิชาถ่ายภาพ. แสง ( Visible Light ). เดินทางเป็นเส้นตรง เมื่อกระทบวัตถุ มันจะเกิดปรากฏการณ์ 3 แบบ 1. สะท้อนกลับ 2. ส่องทะลุผ่านไป 3. ถูกดูดซับไว้ในวัตถุนั้น (แปรเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน) แสงอาทิตย์ มีสีแฝงอยู่ภายใน หรือเรียกว่า spectrum

Download Presentation

วิชาถ่ายภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิชาถ่ายภาพ

  2. แสง ( Visible Light ) • เดินทางเป็นเส้นตรง • เมื่อกระทบวัตถุ มันจะเกิดปรากฏการณ์ 3 แบบ1. สะท้อนกลับ2. ส่องทะลุผ่านไป3. ถูกดูดซับไว้ในวัตถุนั้น (แปรเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน) • แสงอาทิตย์ มีสีแฝงอยู่ภายใน หรือเรียกว่า spectrum • เราเห็นวัตถุมีสีต่าง เพราะวัตถุนั้น ทำ 1. กับบางสีที่เราเห็น และทำ 2. หรือ 3. กับบางสีที่เหลือ

  3. แสง ( Visible Light )การมองเห็นวัตถุเป็นสีต่างๆ

  4. แสง ( Visible Light )การมองเห็นวัตถุเป็นสีต่างๆ

  5. อุณหภูมิสี Color Temperature • มีหน่วยวัดเป็นเคลวิน °K= องศาเซลเซียส + 273 • เผาโลหะดำ ให้ร้อน 3000 องศาเซลเซียสจะได้อุณหภูมิสีที่ 3273 เคลวิน

  6. สีของแสงแบบต่างๆ • Auto White Balance ( AWB ) = ปรับอัตโนมัติ • Day Light / Outdoor = แสงแดดตอนกลางวัน • Shade = ถ่ายในร่มไม้ หรือร่มเงาชายคา ตอนกลางวัน • Tungsten / Incandescent = แสงหลอดไส้ • Cloudy = แสงตอนกลางวันแต่เป็นวันที่ครึ้มฟ้าครึ้มฝน • Fluorescent = แสงหลอดฟลูโอเรสเซนท์ • Flash = แสงจากไฟแฟลช 6

  7. กล้องยอดนิยม SLR • กล้องสะท้อนภาพเลนส์เดี่ยว SLR (Single Lens Reflex) เวลาดูภาพ บันทึกภาพลงฟิล์ม

  8. 30 15 8 4 212 4 8 15 30 60 125 250 500 1000 วินาที 30 15 8 4 212 4 8 15 3060125 250 500 1000 วินาที 30 1584 21 2 4 8 15 30 60 125 250 500 1000 วินาที ความเร็วชัตเตอร์ (ShutterSpeed) 1 STOP = 1 ขั้น 1/

  9. ความเร็วชัตเตอร์ (ShutterSpeed) • ความเร็วชัตเตอร์ Shutter Speed จะเห็นผลแตกต่างชัดเจน กับวัตถุที่เคลื่อนที่ 1/30 วินาที 1/1000 วินาที

  10. การทำงานของรูรับแสง (Aperture) • ภายในตัวเลนส์ จะมีส่วนที่เป็น “ไดอะแฟรม”(Diaphragm) มีลักษณะเป็นคลีบหลายอันซ้อนทับกัน แต่จะเปิดเป็นรู (เกือบจะเป็นวงกลม) ตรงกลางให้แสงผ่านไปได้ เราเรียกว่า “รูรับแสง” หรือ “ช่องรับแสง”(Aperture) ซึ่งสามารถปรับขยายขนาดของรูนี้ ให้ใหญ่ขึ้นหรือเล็กลงก็ได้ คล้ายกับม่านตาของคนเรา

  11. การทำงานของรูรับแสง (Aperture) • f-stop= f / d= 50 / 50 = 1 Diameter ( d ) Focal Length ( f ) 50mm. 50mm. f/1คือรูรับแสงที่ d= f

  12. การทำงานของรูรับแสง (Aperture) • f-stop= f / d1= 50 / 50 = 1f-stop= f / d2= 50 / 25 = 2 Diameter ( d1 ) Diameter ( d2 ) 50mm. 25 mm. f/2= ¼ ของ f/1

  13. F 16 F 2.8 ชัดลึก .... ชัดตื้น ... 13

  14. ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วชัตเตอร์กับรูรับแสงความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วชัตเตอร์กับรูรับแสง 14

  15. ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วชัตเตอร์กับรูรับแสงความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วชัตเตอร์กับรูรับแสง A B C D

  16. ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วชัตเตอร์กับรูรับแสง กับ ISO

  17. การสะท้อนแสงของวัตถุ และการวัดแสง • การสะท้อนแสงของวัตถุต่างๆ • กระดาษสีเทามาตรฐาน (Gray card)18% สะท้อนแสง99% สะท้อนแสง18% สะท้อนแสง1% สีขาว สีเทากลาง สีดำ ค่ากลางในการอ้างอิง เพื่อการวัดแสง

  18. โหมดหลักFull Auto โหมดอย่างง่าย P = Program Tv = Time Value = Shutter Priority = S ของ Nikon Av = Aperture Value = Aperture Priority = A ของ Nikon M = Manual 18

  19. Mode ที่แนะนำ Av หรือ Aเมื่อถ่ายภาพต่อไปนี้ • ภาพบุคคล โดย เลือกรูรับแสงกว้างที่สุด (Fน้อยสุด) • ภาพวิวทิวทัศน์ โดย เลือกรูรับแสงแคบ (Fมาก) • ภาพดอกไม้ โดย เลือกรูรับแสงแคบ (Fมาก) • Mode ที่แนะนำ Tv หรือ Sเมื่อถ่ายภาพต่อไปนี้ • ภาพกีฬา หรือ ภาพเด็ก โดย เลือกความเร็วชัตเตอร์ค่อนข้างสูง • ภาพน้ำตก โดย เลือกความเร็วชัตเตอร์ค่อนข้างต่ำ และใช้ขาตั้งกล้อง • ภาพตอนกลางคืน ใช้แฟลช ใช้ความเร็วชัตเตอร์ ปานกลาง ( 1/30 วินาที ) • ภาพวิวตอนกลางคืน ไม่ใช้แฟลช ใช้ความเร็วชัตเตอร์ ต่ำ และใช้ขาตั้งกล้อง

  20. Mode ที่แนะนำ Pเมื่อถ่ายภาพต่อไปนี้ • ภาพแบบต้องรีบๆถ่าย เช่น เหตุการณ์เฉพาะหน้า ไม่มีเวลาปรับอะไรมาก • Mode ที่แนะนำ Mเมื่อถ่ายภาพต่อไปนี้ • ภาพย้อนแสง หรือมีส่วนที่สว่าง และมืด อยู่ในภาพเดียวกัน ต้องคำนวณแสงเอง • ภาพดาว หรือ ภาพพลุ ซึ่งไม่สามารถวัดแสงได้ ต้อง ประมาณค่าแสงเอาเอง

  21. การจัดองค์ประกอบภาพ • กฏสามส่วน (rule of third) • ลากเส้นสมมติแบ่งพื้นที่ออกเป็นด้านละ 3 ส่วนเท่าๆกันก็จะได้เป็นช่องต่างๆ 9 ช่องแต่ให้สังเกต จุดตัด 4 จุดเป็นจุดที่เราจะวาง “จุดเด่น” ของภาพไว้ในตำแหน่งดังกล่าว

More Related