1 / 84

การสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับการดูแล ผู้สูงอายุ

การสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับการดูแล ผู้สูงอายุ. ผ.ศ. ดร. วนิดา ดุรงค์ฤ ทธิ ชัย ร.ศ. ดร. จริยาวัตร คม พยัคฆ์ อาจารย์ช นิกา เจริญ จิตต์ กุล อาจารย์สุทธิศรี ตระกูล สิทธิโชค อาจารย์พรทิพย์ ลิ้มธี ระยศ อาจารย์รัชนี ผิวผ่อง.

daw
Download Presentation

การสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับการดูแล ผู้สูงอายุ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุการสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุ ผ.ศ. ดร. วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย ร.ศ. ดร. จริยาวัตร คมพยัคฆ์ อาจารย์ชนิกา เจริญจิตต์กุล อาจารย์สุทธิศรี ตระกูลสิทธิโชค อาจารย์พรทิพย์ ลิ้มธีระยศ อาจารย์รัชนี ผิวผ่อง คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

  2. ความสำคัญและความเป็นมาความสำคัญและความเป็นมา

  3. ความสำคัญและความเป็นมาความสำคัญและความเป็นมา การวิจัยทางการพยาบาลประเด็นผู้สูงอายุ มิติที่ศึกษา มิติการออกแบบวิจัย เชิงกลุ่มเป้าหมาย การใช้โปรแกรม เชิงกลุ่มอายุ การวิจัยพัฒนา เชิงพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ การวิจัยสังเคราะห์ความรู้ เชิงพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ ครอบครัวและชุมชน เชิงประเด็นปัญหาและความต้องการ เชิงปัจจัยที่มีผลหรืออิทธิพลต่อการดูแล

  4. ผลการวิจัยที่ผ่านมา ยังไม่มีข้อสรุป ที่ชัดเจน

  5. วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อวิเคราะห์ลักษณะของงานวิจัยและเนื้อหาสาระรายงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง กับการดูแลผู้สูงอายุที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในช่วง พ. ศ. 2550-2555 2. เพื่อสังเคราะห์องค์ความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุจากงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในช่วง พ. ศ. 2550-2555

  6. วิธีดำเนินการวิจัย • การสังเคราะห์อย่างเป็นระบบ (Systematic review) • ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง : รายงานวิจัยการดูแลผู้สูงอายุในและต่างประเทศที่ตีพิมพ์เผยแพร่ ช่วง พ.ศ. 2550-2555 • งานวิจัยที่เข้าเกณฑ์คัดเลือก 119 เรื่อง • การวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis)

  7. คำสำคัญที่ใช้ในการสืบค้นคำสำคัญที่ใช้ในการสืบค้น • -ผู้สูงอายุ • -ผู้ดูแล • -โรคเรื้อรัง โรคความดันโลหิตสูงเบาหวาน หัวใจและหลอดเลือด เมตาบอลิก ต้อ CVA ข้อเสื่อม • -การดูแลผู้สูงอายุ ความต้องการดูแลการดูแลตนเอง ของผู้สูงอายุ ศักยภาพผู้สูงอายุ • -สุขภาพจิต จิตเวช ซึมเศร้า • -การใช้ยาในผู้สูงอายุ • -งานวิจัย แนวปฏิบัติ แนวปฏิบัติพยาบาล

  8. ผลการศึกษา

  9. ผลการศึกษา

  10. ผลการศึกษา

  11. ผลการศึกษา

  12. ผลการศึกษา : Assessment

  13. ผลการศึกษา : Assessment ADL Dehydration Age (6) Pain Sex (2) การทรงตัว Fever Education (3) Position Malnutrition Income (4) State of Health (2) Severity of dis. (4) สถานภาพสมรส (4) CVD Behavior Hypoglycemia Self-efficacy,esteem (3) จำนวนยา ชนิดยา (4) Perception (2) Depression (2) Sleep disturbance Caregiver Social support (4) ความพึงพอใจในชีวิต (2) สมาชิกชมรม (2) Significant factor

  14. ผลการศึกษา : Assessment สุขภาวะ (1) วิตกกังวล (1) Risk fall (4) คุณค่าในตนเอง (1) ผาสุกทางใจ (1) Quality of life (1) Physical health สุขภาพจิต(1) ซึมเศร้า (1) Mental health Tool RMBPC (1) Mental health Mini-mental State exam (1) Physical health Self-care (2) ออกกำลังกาย (1) Self-care (1) Screening มวลกระดูก (1) Bone health (1) ADL (2) Gait & Balance (1) จัดการตนเองต่อเบาหวาน(1) Sexual health (1) Abuse (1) Foot care (1) การสนับสนุนทางสังคม (1)

  15. ผลการศึกษา : การพยาบาล 1 2 3 4

  16. ผลการศึกษา : การพยาบาล

  17. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

  18. การพยาบาล: การป้องกันโรค การดูแลเท้า

  19. การพยาบาล: การบำบัดรักษา

  20. การพยาบาล: การบำบัดรักษา • Non-drug • Therapeutic drug • ใช้ยาเท่าที่จำเป็น • Mantra • Evidence based • Practice setting • Role, Marketing, • Cost • Decision making

  21. การพยาบาล: การบำบัดรักษา

  22. รูปแบบการให้ความรู้

  23. การพยาบาล: ส่งเสริมการดูแลตนเอง

  24. Adherence • Recurrent • Co-morbidity • Readmit • Complication • Pain • Physical & Cognitive function • Rehabilitation • Self-care ผลของการดูแล • Stress • Anxiety • Well being • Attitude • Self esteem • QOL • Relationship • Long term care • Neglect

  25. ผลของการดูแล: การส่งเสริมการดูแลตนเอง

  26. ระบบการดูแลของโรงพยาบาลระบบการดูแลของโรงพยาบาล

  27. Income Co- morbidity Social support Self- efficacy Education การมองเห็น ADL ระบบการดูแล ความกังวลของผู้ป่วยต้อหิน

  28. ระบบการดูแล

  29. ผลการศึกษา : Discharge Planning ความพร้อมในการดูแลตนเอง : ความรู้ ความสามารถในการเผชิญ ปัญหา การสนับสนุนที่ต้องการ การให้ความหมายการดูแลตนเอง การให้ความรู้ก่อนจำหน่าย การให้ความร่วมมือในการรักษา วิธีจัดการความเจ็บป่วยด้วยตนเอง ความสามารถในการปรับตัว การปรับตัว การปรับตัวกับที่อยู่อาศัยใหม่

  30. เป้าหมาย : เอื้อให้ผู้สูงอายุและครอบครัว มีความรู้มากที่สุด • การประเมินและแบบประเมิน • ความรู้เรื่องโรคในผู้สูงอายุ • การตัดสินใจให้ยา • สิ่งเอื้อต่อการเรียนรู้ • การป้องกันการพลัดตกหกล้ม • On the job training • การดูแลต่างวัฒนธรรม • การออกแบบหน่วยบริการ ผลการศึกษา : Hospital management

  31. ผลการศึกษา : • ควรมีการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุดูแลตนเอง บทบาทในสังคม Co-morbid การออกกำลังกาย:แบบกลางแจ้ง, การเดินเล่น Infection ทัศนคติและการรับรู้ตนเอง Cognitive function การใช้บริการสุขภาพทางเลือก : สมุนไพร การฝังเข็ม การคงความแข็งแรงของกระดูก

  32. ผลการศึกษา : ปัญหาที่พบมากในการดูแลตนเอง

  33. ผลการศึกษา : การประเมินประสิทธิภาพ การบริการพยาบาล

  34. ผลการศึกษา : ระบบส่งต่อ

  35. ผลการศึกษา : ระบบส่งต่อ การใช้ข้อมูลและการสะท้อนข้อมูล เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุ Nurse manager Frontline Organizational-based feedback Resident-based feedback

  36. ผลการศึกษา : Caregiver

  37. ผลการศึกษา : Community management system

  38. ผลการศึกษา : การดูแลผู้สูงอายุด้านสุขภาพกาย

  39. ผู้สูงอายุที่เป็นต้อหินผู้สูงอายุที่เป็นต้อหิน • เพื่อลดความวิตกกังวล • ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน • ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง • ความสามารถในการมองเห็น • การสนับสนุนทางสังคม ส่งผลให้ผู้ป่วยพร้อมที่จะเรียนรู้ เพื่อพัฒนาศักยภาพในการดูแลตนเอง • เพื่อให้เกิดความร่วมมือ • ปัจจัยด้านการรักษา • ปัจจัยด้านผู้ให้บริการ • ปัจจัยด้านสังคม/สิ่งแวดล้อม

  40. ลดอาการหายใจลำบาก ผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง

  41. ผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังเพื่อเพิ่มคุณค่าในตนเองผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังเพื่อเพิ่มคุณค่าในตนเอง

  42. ผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง

  43. ผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง

  44. ผู้สูงอายุโรคเบาหวาน

  45. ผู้สูงอายุโรคเบาหวาน สังเกตตนเอง

  46. ผู้สูงอายุโรคเบาหวาน

  47. การดูแลผู้สูงอายุทางกายในรูปแบบอื่นๆการดูแลผู้สูงอายุทางกายในรูปแบบอื่นๆ จากการศึกษาพบประเด็น ดังนี้ • ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสุขภาพ • โปรแกรมที่ใช้ในการสอนและการให้ความรู้ • การพัฒนารูปแบบบริการ • การส่งเสริมทักษะของผู้ดูแล

  48. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสุขภาพปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสุขภาพ

  49. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสุขภาพปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสุขภาพ

  50. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสุขภาพปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสุขภาพ ด้านจิตใจ

More Related