470 likes | 927 Views
โรคหืด มาดูแลรักษาและป้องกัน โรคหืด กันเถอะ. นายแพทย์ เกียรติ รักษ์รุ่งธรรม หน่วย โรคภูมิแพ้ และภุมิคุ้มกันทางคลินิก ภาควิชา อายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. โรคภูมิแพ้. โรคภูมิแพ้ทางจมูก Allergic Rhinitis โรคหืดจากภูมิแพ้ Allergic Asthma
E N D
โรคหืดมาดูแลรักษาและป้องกัน โรคหืด กันเถอะ นายแพทย์ เกียรติ รักษ์รุ่งธรรม หน่วย โรคภูมิแพ้ และภุมิคุ้มกันทางคลินิก ภาควิชา อายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โรคภูมิแพ้ โรคภูมิแพ้ทางจมูก Allergic Rhinitis โรคหืดจากภูมิแพ้ Allergic Asthma โรคภูมิแพ้ทางผิวหนัง Atopic Dermatitis โรคลมพิษUrticaria โรคแพ้อาหาร Food Allergy การแพ้ยา Drug Allergy AllergyChula
ระบาดวิทยาของโรคภูมิแพ้ในเด็กไทยระบาดวิทยาของโรคภูมิแพ้ในเด็กไทย พยนต์ บุญญฤทธิพงษ์ และมนตรี ตู้จินดา 2533; ปกิต วิชยานนท์ และคณะ 2541 AllergyChula
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับหอบหืดจาก WHO 1998 • กว่า 155 ล้านคนทั่วโลกเป็นโรคหืด • พบในเด็ก >ผู้ใหญ่ • การมีความชุกของโรคหืดเพิ่มขึ้น อาจเกิดเนื่องจาก • ความเป็นอยู่อย่างตะวันตก, สุขอนามัยีท่ดีเกินไป • การเผชิญกับไรฝุ่นเพิ่มขึ้น • ควันบุหรี่ ควันรถ • หากรักษาไม่ถูกต้องอาจทำให้มีปัญหาหลอดลมเสื่อมเรื้อรังได้
ThaiAIS Burden of Asthma US • 5.4% adults, 5.8% children1. • 160% increase in children from 19802. • 5000 asthma deaths/year and increasing, especially among groups with poor health care access3. Sources: 1. Vital and Health Statistics, December 1995; 10(193) 2. "Surveillance for asthma - United States 1960-1995," Morbidity and Mortality Weekly Report, April 24, 1998; 47(SS-1). 3. Monthly Vital Statistics Report, August 14, 1997; 46(1) AllergyChula
ThaiAIS Increased Prevalence of Asthma in the US Estimated average annual rate per 1,000 population of self-reported asthma Source: Surveillance for Asthma - United Sates, 1960-1995. MMWR 1998; 47 (SS1): 12 . AllergyChula
ThaiAIS Asthma (Ever) Prevalence Among 13-14 Year Olds in Western Europe. Source: ISAAC Study. Lancet 1998. 351;1225-1232. AllergyChula
ThaiAIS Asthma (Ever) Prevalence Among 13-14 Year Olds in Asia Pacific Prevalence Source: ISAAC Study, Eur Res J 1998;12:315-335. AllergyChula
ThaiAIS Asia Pacific Similarities to US and Europe
ThaiAIS 1989 1994 Asthma Increased Among College Freshmen in Hong Kong Between 1989 and 1994 Source: Lai et al.,1996. AllergyChula
ThaiAIS Asthma Deaths Increasing in Hong Kong (1975-1995) Death/100,000 Population Year Source :Lai et al., 1996 AllergyChula
โรคหืดชื่ออื่นๆที่เรียกกันโรคหืดชื่ออื่นๆที่เรียกกัน • โรคหอบ • โรคหอบหืด Allergy Chula 1999
โรคหืด หรือ หอบหืด คืออะไร คือ โรคของหลอดลมที่มีการตีบหรืออุดตันเป็นๆหายๆ และในรายที่เป็นบ่อยๆ (>สัปดาห์ละ 1 ครั้ง) จะมีการอักเสบเรื้อรังของหลอดลมร่วมด้วย
ลักษณะสำคัญ 4 ประการ ของโรคหืด 1.หลอดลมที่มีการตีบหรืออุดตันเป็นๆหายๆ การ ตีบหรืออุดตันเกิดจาก: กล้ามเนื้อหลอดลมหดตัว, เยื่อบุบวม, มีการอักเสบ, เสมหะมาก 2. มีการอักเสบเรื้อรังของหลอดลมร่วมด้วย 3. หลอดลมมีสภาพไวผิดปกติต่อสิ่งกระตุ้นต่างๆ เช่น ควันต่างๆ กลิ่นที่แรง สารก่อภูมิแพ้ 4. หากไม่รักษาอย่างถูกต้องหลอดลมจะเสื่อมเรื้อรังได้
โรคหืดภาวะอักเสบจากภูมิแพ้ในหลอดลม และหลอดลมไวผิดปกติ การทำงานของ หลอดลม ภาวะไวผิดปกติของหลอดลม ไรฝุ่น นาที 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 -ชม//------วัน ระยะเวลาภายหลังการสูดดมสารก่อภูมิแพ้
โรคหืด: ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง โรคติดเชื้อ ภูมิแพ้จมูก การหลีกเลี่ยง สารก่อภูมิแพ้ ไซนัสอักเสบ การรักษาที่ถูกต้อง ต่อเนื่อง หลอดลมอักเสบ มลพิษ โรคหืด ที่รุนแรงต่างกัน พันธุกรรม หลอดลมเสื่อม หลอดลมไวผิดปกติ • เป็นนานๆครั้ง • เป็นบ่อยแต่ไม่ทุกวัน • เป็นทุกวัน • เป็นรุนแรงจนขาดงาน • หรือขาดเรียน ความเครียด ยา: ยาแก้ปวด อากาศเย็น การอกกกำลัง การรักษา โรคหืด จึงเป็นการรักษาที่ต่อเนื่อง และต้องปรับเป็นรายๆและเป็นช่วงๆ
อาการของโรคหืดจากภูมิแพ้อาการของโรคหืดจากภูมิแพ้ • แน่น หายใจไม่ออก • มีเสียงหื้ดๆ หรือ วี้ดๆในปอด • ไอในชว่งที่มีอาการ และมีเสมหะเหนียว • อาการอาจหายเองได้ หรือด้วยยาขยายหลอดลม Allergy Chula 1999
เมื่อไหร่ควรสงสัยว่าเป็นโรคหืดเมื่อไหร่ควรสงสัยว่าเป็นโรคหืด 1.เหนื่อยหอบเป็นพักๆ พร้อมมีเสียงวี้ด มีไอ มีเสมหะ 2.ไอ แน่นหายใจไม่ออก มักตอนกลางคืน 3. อาการอาจกำเริบเวลาออกกกำลัง โดยเฉพาะในที่อากาศเย็น-แห้ง 4. ส่วนน้อยอาจมาด้วยอาการไอมากเป็นช่วงๆโดยไม่มีอาการแน่นหอบหรืหอบหืด
การประเมินความรุนแรงของหอบหืดการประเมินความรุนแรงของหอบหืด ให้ดูจากอาการก่อนรับการรักษา 1.เป็นเล็กน้อยมาก เป็น <1 ครั้ง/สัปดาห์ 2. รุนแรงเล็กน้อย เป็นเกือบทุกวัน 3. รุนแรงปานกลาง เป็นทุกวัน แต่ไม่เสียการงานการเรียน 4. รุนแรงมากเป็นทุกวัน ทำให้เสียการงานการเรียน NAEPP, NHLBI, NIH 1997 and GINA 1998
อาการที่เตือนว่าโรคหืดของคุณเป็นรุนแรงอาจอันตรายได้อาการที่เตือนว่าโรคหืดของคุณเป็นรุนแรงอาจอันตรายได้ • อยู่เฉยๆไม่ออกแรงก็เหนื่อยหอบมาก • พ่นยาขยายหลอดลมแล้ว อาการไม่ทุเลา หรือดีขึ้นเพียงช่วงสั้นๆ • หอบเหนื่อยจนพูดไม่เป็นประโยค • ใช้กล้ามเนื้อ และซี่โครงช่วยอย่างมาก • ชีพจร >120 ต่อนาที • เขียว หรือ ซึมลง Allergy Chula 1999
หลักในการรักษา โรคหืดจากภูมิแพ้ • หลีกเลี่ยงสิ่งที่แพ้ และสารระคายเคืองต่างๆ:คัวนบุหรี่ มลพิษ • ออกกำลังสม่ำเสมอ ในช่วงที่ไม่มีการหอบหืด • ให้ยาขยายหลอดลม เวลามีอาการหืด/หอบ: ยาพ่น หรือยาทาน • ยาพ่นต้องมีการสอนให้ใช้ถูกวิธี • ในรายที่มีอาการบ่อยกว่า >2 ครั้ง/สัปดาห์ ให้รักษาด้วย ยาพ่น steroids • การฉีดวัคซีนภูมิแพ้ในบางรายที่ไม่ดีขึ้นจากยา Allergy Chula 1999
ยาพ่นขยายหลอดลม เวลามีอาการ ยาพ่นสเตอรอยด์ สม่ำเสมอ GINA guidelines 1998หลักในการเลือกยารักษาโรคหืด Severe persistent Moderate persistent Mild persistent Intermittent ยาพ่นขยายหลอดลมที่มีฤทธิ์ยาว J Bousquet Berlin 1999 AllergyChula
เป้าหมายของการรักษา โรคหืด • ป้องกันไม่ให้มีอาการหรือมีอาการน้อยครั้งที่สุด • สามารถทำงาน ไปโรงเรียน ออกกำลังได้ตามปกติ • มีคุณภาพชีวิตที่ดี • มีการทำงานหรือสมรรถนะของปอดปกติหรือใก้ลปกติ • มีการใช้ยาพ่นชนิดขยายหลอดลมน้อยที่สุด • มีผลข้างเคียงจากยาน้อยที่สุด
ยาพ่นสำหรับรักษา โรคหืด • แบ่งออกเป็น • ยาขยายหลอดลม • ยาพ่น Steroid
ความรุนแรงของโรคหืดในยุโรปและอเมริกาความรุนแรงของโรคหืดในยุโรปและอเมริกา Moderate Moderate Severity classified by NIH Symptom Severity Index AllergyChula
เหลือเชื่อแต่จริง: การรักษาโรคหืดในประเทศเจริญแล้วก็ยังต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน AllergyChula
การให้การศึกษาแก่ผู้เป็นโรคหืดการให้การศึกษาแก่ผู้เป็นโรคหืด • ให้ทราบว่า โรคหืดเป็นโรคที่มีการอักเสบเรื้อรังของหลอดลม • ต้องเข้าใจว่าหากมีอาการมากกว่าสัปดาห์ละครั้ง ต้ดงรักษาด้วยยาสเตอรอยด์ชนิดพ่น • ต้องเข้าใจว่า ยาพ่นหรือยาทานขยายหลอดลม เป็นเพียงยาทุเลาอาการเท่านั้น ไม่ได้ช่วยโรคหืดอย่างแท้จริง • ต้องรู้จักใช้ยาพ่นอย่างถูกวิธี • ต้องตั้งใจหลีกเลี่ยงสิ่งที่กระตุ้นอาการของโรคหืดอย่างจริงจัง • ต้องรู้จักประเมินความรุนแรงของโรค ว่าเมื่อใดจะพ่นยาแก้หอบเองได้ เมื่อใดจะต้องรีบหาหมอ AllergyChula
การวัดการตีบตันของหลอดลมการวัดการตีบตันของหลอดลม ชายไทย เป่าได้ > 550 ลิตร/นาที หญิงไทย เป่าได้ > 400 ลิตร/นาท
ข้อควรระวังในการรักษา โรคหืดจากภูมิแพ้ • ห้ามทานยาชุดที่มี steroid ให้ต่อเนื่องนานๆ>1 สัปดาห์ เว้นแต่มีแพทย์สั่ง • หากมีอาการบ่อยมากกว่า >2 ครั้ง/สัปดาห์ ให้ไปหาแพทย์ • หากต้องพ่นยาขยายหลอดลมมากกว่า 4 ครั้งใน 1 ชม. แต่ไม่ทุเลาให้รีบไปหาแพทย์ Allergy Chula 1999
สาเหตุของ โรคภูมิแพ้ สิ่งแวดล้อม พันธุกรรม สารก่อภูมิแพ้ มลพิษ โรคภูมิแพ้ Allergy Chula 1999
Patient Education for Environmental Control
การทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนังการทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนัง
การจัดห้องนอนให้ปลอดไรฝุ่นการจัดห้องนอนให้ปลอดไรฝุ่น เฟอร์นิเจอร์ มีเฟอร์นิเจอร์เท่าที่จำเป็น ควรใช้วัสดุที่ทำความสะอาดง่าย เช่น ไม้ บุหนังแท้หรือเทียม ไม่ควรบุผ้า พื้นห้อง ไม่ควรปูพรม ม่านไม่ควรใช้ผ้าม่านเพราะกักฝุ่น ควรใช้มู่ลี่แทน เพราะทำความสะอาดง่าย หมอนควรใช้ใยสังเคราะห์ และหุ้มด้วยผ้าไวนิลหรือ ผ้าใยสังเคราะห์พิเศษ และไม่ใช้นุ่น หรือขนนก ตากแดดทุก 1-2 สัปดาห์ ที่นอน ควรหุ้มด้วยผ้าสังเคราะห์ที่ป้องกันไรฝุ่นได้ ตากแดด ทุก 1-2 สัปดาห์ ผ้าห่มควรทำจากใยสังเคราะห์หรือผ้าแพร การทำความสะอาดซักเครื่องนอนต่างๆด้วยน้ำอุ่น (550C) ทุก 1-2 สัปดาห์
ควันบุหรี่ ควันธูป
จะป้องกันโรคหืดจากภูมิแพ้ได้ยังไง ? • สำหรับทารกที่มีแม่เป็นภูมิแพ้ การให้นมแม่นานกว่า 6 เดือนช่วยป้องกันหืดในเด็กได้ • หลีกเลี่ยงควันบุหรี่ • จัดบ้านให้ปลอดไรฝุ่น สัตว์เลี้ยงมีขน ขจัดแมลงสาบ • หากมีโรคหวัดเรื้อรังจากภูมิแพ้ ต้องรักษาให้ดี • หากมีโรคไซนัสอักเสบเรื้อรังต้องรักษา • หากแพ้ยาแก้ปวด แก้ข้ออักเสบ ต้องหลีกเลี่ยง • การออกกำลังสม่ำเสมอ
โรคหืด: ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง โรคติดเชื้อ ภูมิแพ้จมูก การหลีกเลี่ยง สารก่อภูมิแพ้ ไซนัสอักเสบ การรักษาที่ถูกต้อง ต่อเนื่อง หลอดลมอักเสบ มลพิษ โรคหืด ที่รุนแรงต่างกัน พันธุกรรม หลอดลมเสื่อม หลอดลมไวผิดปกติ • เป็นนานๆครั้ง • เป็นบ่อยแต่ไม่ทุกวัน • เป็นทุกวัน • เป็นรุนแรงจนขาดงาน • หรือขาดเรียน ความเครียด ยา: ยาแก้ปวด อากาศเย็น การอกกกำลัง การรักษา โรคหืด จึงเป็นการรักษาที่ต่อเนื่อง และต้องปรับเป็นรายๆและเป็นช่วงๆ