1.03k likes | 1.91k Views
อัตราค่าไฟฟ้า. กองอัตราและธุกิจไฟฟ้า. ฝ่ายนโยบายเศรษฐกิจพลังงาน. การกำกับดูแลกิจการพลังงาน. คณะอนุกรรมการกำกับดูแลอัตราค่าพลังงาน และค่าบริการ. คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ( Regulator). คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ. คณะรัฐมนตรี. UNIFORM Tariff อัตราเดียวกัน ทั่วประเทศ.
E N D
อัตราค่าไฟฟ้า กองอัตราและธุกิจไฟฟ้า ฝ่ายนโยบายเศรษฐกิจพลังงาน
การกำกับดูแลกิจการพลังงานการกำกับดูแลกิจการพลังงาน คณะอนุกรรมการกำกับดูแลอัตราค่าพลังงาน และค่าบริการ คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (Regulator) คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี
UNIFORM Tariff อัตราเดียวกัน ทั่วประเทศ
ความเป็นมาโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า ปี 2554-2558 27ธ.ค.2554 3พ.ค.2554 ครม. เห็นชอบปรับปรุงมาตรการค่าไฟฟ้าฟรี ครม. เห็นชอบการปรับโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า โดยปรับลดหน่วยการใช้ไฟฟ้าฟรีจากไม่เกิน 90หน่วย/เดือน เป็นไม่เกิน 50 หน่วย/เดือน ได้รับการอุดหนุนให้ใช้ไฟฟ้าฟรี กระจายภาระให้ผู้ใช้ไฟฟ้าทุกประเภท รวมลูกค้าตรงของ กฟผ. และผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน ยกเว้นประเภทบ้านอยู่อาศัย กิจการขนาดเล็ก และสูบน้ำเพื่อการเกษตร กำหนดให้ผู้ใช้ไฟฟ้าบ้านอยู่อาศัย ที่ติดตั้งมิเตอร์ไม่เกิน 5 แอมป์ (ประเภท 1.1.1) และใช้ไฟฟ้าไม่เกิน 90หน่วย/เดือน ได้รับการอุดหนุนให้ใช้ไฟฟ้าฟรี กระจายภาระให้ผู้ใช้ไฟฟ้าทุกประเภท รวมลูกค้าตรงของ กฟผ. และผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน ยกเว้นประเภทบ้านอยู่อาศัย กิจการขนาดเล็ก และสูบน้ำเพื่อการเกษตร 13 ก.ค.2554 กกพ. เห็นชอบปรับอัตราค่าไฟฟ้าตั้งแต่ ค่าไฟฟ้าประจำเดือน ก.ค.2554 เป็น ระยะเวลา 2 ปี และให้ทบทวนในปี 2556 เพื่อใช้ต่อไปอีก 3 ปี 10 พ.ค.2555 กกพ. เห็นชอบปรับอัตราค่าไฟฟ้ามีผลตั้งแต่ค่าไฟฟ้าประจำเดือน มิ.ย.2555 4
ประเภทอัตราค่าไฟฟ้า 1. บ้านอยู่อาศัย 2. กิจการขนาดเล็ก 3. กิจการขนาดกลาง 4. กิจการขนาดใหญ่ 5. กิจการเฉพาะอย่าง 6. องค์กรที่ไม่แสวงหากำไร 7. สูบน้ำเพื่อการเกษตร 8. ไฟชั่วคราว 9. ไฟฟ้าสำรอง 10. สามารถงดจ่ายไฟฟ้าได้
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า • Two Part Tariff • กิจการขนาดกลาง • กิจการขนาดใหญ่ • กิจการเฉพาะอย่าง Single part Tariff • บ้านอยู่อาศัย • กิจการขนาดเล็ก • องค์กรที่ไม่แสวงกำไร • สูบน้ำเพื่อการเกษตร • ไฟชั่วคราว อัตราบังคับ / อัตราเลือก
ค่าไฟฟ้าฐาน การจำหน่ายไฟฟ้าของ กฟภ. (ม.ค.- มิ.ย.2555)
องค์ประกอบของค่าไฟฟ้าองค์ประกอบของค่าไฟฟ้า ปี 2555(ม.ค.-มิ.ย.) Ft1.00% 6.54% ภาษีมูลค่าเพิ่ม 92.46% ค่าไฟฟ้าฐาน
ค่าไฟฟ้าฐาน : ต้นทุนการก่อสร้างโรงไฟฟ้า ระบบสายส่ง สายจำหน่าย และการผลิต พลังงานไฟฟ้า ภายใต้สมมติฐานความต้องการใช้ไฟฟ้า ราคาเชื้อเพลิง อัตราแลกเปลี่ยน และอัตราเงินเฟ้อ ค่าไฟฟ้าฐานจะมีการปรับทุก 3-5 ปี ค่า Ft: ค่าไฟฟ้าตามสูตรการปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ เป็น ต้นทุนเชื้อเพลิง ค่าซื้อไฟฟ้าที่เปลี่ยนไปจากค่าไฟฟ้าฐาน และผลกระทบจากนโนบายของรัฐ ภาษีมูลค่าเพิ่ม : คิดในอัตราร้อยละ 7 ของค่าไฟฟ้ารวม องค์ประกอบของค่าไฟฟ้า ค่าไฟฟ้า = ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่า Ft + ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ค่าไฟฟ้าฐาน ค่าไฟฟ้าฐาน เป็นโครงสร้างค่าไฟฟ้าซึ่งแยกตามลักษณะการใช้ไฟฟ้าของกลุ่มผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทต่างๆ
สูตร Ft Ft = FAC + AF • FAC ค่าเชื้อเพลิง(น้ำมันเตา, น้ำมันดีเซล, ก๊าซธรรมชาติ, ลิกไนต์ และ ถ่าน หินนำเข้า), ค่าซื้อไฟฟ้าจากเอกชน (บริษัทในเครือ กฟผ., IPPs และ SPPs), ค่าซื้อไฟฟ้าจากต่างประเทศ(ลาว และ มาเลเซีย) และการส่ง ผ่านค่าใช้จ่ายตามนโยบายที่รัฐกำหนดที่เปลี่ยนแปลงจากค่า Ft คงที่ • AF ค่าสะสมที่เกิดจากความแตกต่างระหว่างค่า Ft ที่คำนวณได้ กับ ค่า Ft • ที่เรียกเก็บ
ราคาเชื้อเพลิงฐานในการคำนวณ Ft ราคาเชื้อเพลิงเฉลี่ยที่ใช้ในการคำนวณค่า Ft มีดังนี้ น้ำมันเตา 23.64 บาท/ลิตร น้ำมันดีเซล 28.59 บาท/ลิตร ก๊าซธรรมชาติ 251.51 บาท/ล้านบีทียู อ่าวไทยและพม่า 250.05 บาท/ล้านบีทียู น้ำพอง 303.78 บาท/ล้านบีทียู ลานกระบือ 43.89 บาท/ล้านบีทียู ลิกไนต์ 569.70 บาท/ตัน ค่าซื้อจากเอกชน 2.3822 บาท/หน่วย
ค่าFt มค.54-มิ.ย.54 มิย.-กย.49 พค.53-สค.53 กย.53-ธค.53 พค.52-สค.52 กย.52-ธค.52 มค.53-เมย.53 มค.52-เมย.52 มค.54-เมย.54 มิย.51-กย.51 ตค.48-มค.49 ตค.49-มค.50 กย.53-ธค.53 มค.53-เมย.53 ตค.51-ธค.51 กพ.-พค.49 พค.54-มิย.54 พค.53-สค.53 ตค.49-มค.50 มค.54-เมย.54 มิย.50-กย.50 มค.52-เมย.52 กพ.51-พค.51 กย.52-ธค.52 ตค.50-มค.51 กพ.50-พค.50 พค.52-สค.52 มิย.49-กย.49 มิย.51-กย.51 ตค.51-ธค.51 กพ.51-พค.51 ตค.50.-มค.51 กพ.49-พค.49 กพ.50-พค.50 ตค.48-มค.49 มิย.49-กย.49 กพ.49-พค.49 ตค.48-มค.49 มิย.50-กย.50 ฐาน ฐาน ฐาน ก๊าซธรรมชาติ พค.53-สค.53 พค.54-มิย.54 กย.53-ธค.53 มค.53-เมย.53 มค.52-เมย.52 กย.52-ธค.52 มค.54-เมย.54 กพ.50-พค.50 พค.52-สค.52 กย.52-ธค.52 ตค.48-มค.49 พค.53-สค.53 มิย.50-กย.50 มค.52-เมย.52 กย.53-ธค.53 ตค.51-ธค.51 ตค.49-มค.50 กพ.51-พค.51 มิย.51-กย.51 พค.54-มิย.54 ตค.51-ธค.51 มิย.49-กย.49 มค.54-เมย.54 ตค.49-มค.50 กพ.50-พค.50 มค.53-เมย.53 ตค.50.-มค.51 มิย.50-กย.50 กพ.49-พค.49 กพ.51-พค.51 พค.52-สค.52 ตค.50.-มค.51 ตค.48-มค.49 กพ.49-พค.49 มิย.49-กย.49 มิย.51-กย.51 ฐาน ฐาน สตางค์/หน่วย 95.81 85.44 77.70 75.84 78.42 73.42 68.42 66.11 68.86 62.85 92.55 56.83 92.55 92.55 92.55 92.55 92.55 86.88 56.83 – 95.81 สต./หน่วย
ค่า Ft โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าปัจจุบัน พค.55-ส.ค.55 พค.55-ส.ค.55 มค.55-เมย.55 มค.55-เมย.55 กย.54-ธค.54 กย.54-ธค.54 กค.54-สค.54 กค.54-สค.54 ฐาน ฐาน ก๊าซธรรมชาติ พค.55-ส.ค.55 พค.55-ส.ค.55 มค.55-เมย.55 มค.55-เมย.55 กย.54-ธค.54 กค.54-สค.54 กย.54-ธค.54 กค.54-สค.54 ฐาน ฐาน 30.00 0.00 -6.00 -6.00
Ft ที่เรียกเก็บ เรียกเก็บ
การคำนวณค่า Ft ในค่าไฟฟ้า หน่วยการใช้ไฟฟ้า x Ft ประจำเดือนนั้นๆ
การคิดค่าตัวประกอบพลังไฟฟ้า (Power Factor : P.F.) - คิดกับผู้ใช้ไฟฟ้าที่คิดค่าความต้องการพลังไฟฟ้า - คิดกับผู้ใช้ไฟฟ้าที่ P.F. ต่ำกว่า 0.85 - การคิดค่า P.F. คิดจาก kVAR ส่วนที่เกินร้อยละ 61.97 ของ kW. สูงสุดในอัตรา kVAR ละ 56.07 บาท
กำหนด kW. = 130 kVAR = 120 ร้อยละ 61.97 ของ kW. = 130 X 0.6197 = 80.56 kVAR ส่วนที่เกิน = 120 - 80.56 = 39.44 kVAR ที่คิดเงิน = 39 (ทศนิยม ไม่ถึง 0.5 ปัดทิ้ง) ค่า P.F. = 39 X 56.07 = 2,186.73 บาท
ประเภทที่ 1 บ้านอยู่อาศัย สำหรับการใช้ไฟฟ้าในบ้านเรือนที่อยู่อาศัย วัด สำนักสงฆ์ และสถานประกอบศาสนกิจของทุกศาสนา 1.1 อัตราปกติ 1.1.1 ใช้พลังงานไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วย/เดือน 1.1.2 ใช้พลังงานไฟฟ้าเกิน 150 หน่วย/เดือน ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทที่ 1.1.1 ที่ใช้ไฟฟ้าไม่เกิน 50 หน่วยต่อเดือน ได้รับสิทธิค่าไฟฟ้าฟรีในเดือนนั้น 1.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ : TOU (อัตรา เลือก)
ประเภทที่ 2 กิจการขนาดเล็ก สำหรับการใช้ไฟฟ้า ธุรกิจ ธุรกิจรวมกับบ้านอยู่อาศัย อุตสาหกรรม หน่วยราชการ สำนักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ สถานทูต สถานที่ทำการหน่วยงานราชการ ต่างประเทศ และสถานที่ทำการขององค์การฯ ความต้องการใช้ไฟฟ้าต่ำกว่า 30 กิโลวัตต์ 2.1 อัตราปกติ แยกตาม แรงดัน 22-33 KV. < 22 KV. 2.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ : TOU (อัตราเลือก)
ประเภทที่ 3 กิจการขนาดกลาง สำหรับการใช้ไฟฟ้า ธุรกิจ อุตสาหกรรม หน่วยราชการ สำนักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ องค์กรปกครองส่วน-ท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ สถานทูต สถานที่ทำการหน่วยงานราชการ ต่างประเทศ และสถานที่ทำการขององค์การฯ ความต้องการใช้ไฟฟ้าตั้งแต่ 30 กิโลวัตต์ แต่ไม่ถึง 1,000 กิโลวัตต์ และมีหน่วยการใช้ไฟฟ้า ไม่เกิน 250,000หน่วย 3.1 อัตราปกติ 3.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ : TOU
ประเภทที่ 4 กิจการขนาดใหญ่ สำหรับการใช้ไฟฟ้า ธุรกิจ อุตสาหกรรม หน่วยราชการ สำนักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ สถานทูต สถานที่ทำการของหน่วยงานราชการต่างประเทศ สถานที่ทำการองค์การฯ ความต้องการใช้ไฟฟ้า ตั้งแต่ 1,000 กิโลวัตต์ขึ้นไป หรือหน่วยการใช้ไฟฟ้า เกิน 250,000 หน่วย 4.1 อัตราตามช่วงเวลาของวัน : TOD 4.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ : TOU
ประเภทที่ 5 กิจการเฉพาะอย่าง สำหรับการใช้ไฟฟ้า โรงแรม กิจการให้เช่าพักอาศัย ความต้องการใช้ไฟฟ้าตั้งแต่30 กิโลวัตต์ 5.1 อัตรา Time of Use Rate : TOU (อัตราบังคับ) 5.2อัตราสำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่อยู่ระหว่างการติด มิเตอร์ TOU
ประเภทที่ 6 องค์กรที่ไม่แสวงหากำไร สำหรับการใช้ไฟฟ้าขององค์กรที่ไม่ใช่ส่วนราชการ แต่มี วัตถุประสงค์ในการให้บริการโดยไม่คิดค่าตอบแทน 6.1 อัตราปกติ 6.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ : TOU (อัตราเลือก)
ประเภทที่ 7 สูบน้ำเพื่อการเกษตร สำหรับการใช้ไฟฟ้ากับเครื่องสูบน้ำเพื่อการเกษตรของหน่วยงานราชการ สหกรณ์เพื่อการเกษตร กลุ่มเกษตรกรที่จดทะเบียนจัดตั้งกลุ่มเกษตรกร ไม่จำกัดหน่วยใช้ไฟฟ้า 7.1 อัตราปกติ 7.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ : TOU (อัตราเลือก)
ประเภทที่ 8 ไฟฟ้าชั่วคราว สำหรับการใช้ไฟฟ้าเพื่อการก่อสร้าง งานที่จัด ขึ้นเป็นพิเศษชั่วคราว สถานที่ไม่มีเลขที่บ้าน และ การใช้ไฟฟ้าที่ยังไม่ถูกระเบียบ กฟภ. ค่าพลังงานไฟฟ้า 6.3434 บาท/หน่วย เท่ากันทุกหน่วยทุกระดับแรงดัน
ประเภทที่ 9 อัตราค่าไฟฟ้าสำรอง เป็นอัตราที่ใช้ไฟฟ้าจะต้องมีเครื่องกำเนิดไฟฟ้า และใช้ไฟฟ้าที่ผลิตจากเครื่องกำเนิดไฟฟ้าของตนเองเป็นหลัก โดยมีความต้องการพลังไฟฟ้าจาก กฟภ. เพื่อสำรองไว้ในกรณีที่มีเหตุขัดข้องในการผลิตไฟฟ้า หรือต้องการหยุดเพื่อซ่อมแซมหรือบำรุงรักษาเครื่องกำเนิดไฟฟ้าตามแผนงานที่ได้แจ้ง กฟภ. ไว้
ประเภทที่ 10 อัตราค่าไฟฟ้าประเภทที่สามารถงดจ่ายไฟฟ้าได้ (Interruptible Rate: IR) เป็นอัตราสำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่สามารถให้งดจ่ายไฟฟ้าได้ (Interruptible Demand) เมื่อการไฟฟ้าร้องขอไม่น้อยกว่า 1,000 กิโลวัตต์ โดยการไฟฟ้าจะแจ้งให้ผู้ใช้ไฟฟ้าทราบ และระยะเวลางดจ่ายไฟฟ้าล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง
ประเภทผู้ใช้ไฟฟ้า ประเภทอัตราค่าไฟฟ้า อัตราปกติ/บังคับ อัตราเลือก 1. บ้านอยู่อาศัย อัตราก้าวหน้า อัตรา TOU 2. กิจการขนาดเล็ก อัตราก้าวหน้า/อัตราคงที่ อัตรา TOU 3. กิจการขนาดกลาง 3.1 ผู้ใช้ไฟฟ้าก่อน ต.ค.2543 อัตรา Two Part Tariff อัตรา TOU 3.2 ผู้ใช้ไฟฟ้าตั้งแต่ ต.ค.2543 เป็นต้นมา อัตรา TOU - 4. กิจการขนาดใหญ่ 4.1 ผู้ใช้ไฟฟ้าก่อน ต.ค.2543 ที่ใช้อัตรา TOD อัตรา TOD อัตรา TOU 4.2 ผู้ใช้ไฟฟ้าตั้งแต่ ต.ค.2543 เป็นต้นมา อัตรา TOU - 5. กิจการเฉพาะอย่าง อัตรา TOU - 6. องค์กรที่ไม่แสวงหากำไร อัตราก้าวหน้า/อัตราคงที่ อัตรา TOU 7. สูบน้ำเพื่อการเกษตร อัตราก้าวหน้า อัตรา TOU 8. ไฟฟ้าชั่วคราว อัตราคงที่ - อัตราค่าไฟฟ้าสำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าแต่ละประเภท
ขั้นตอนที่ 1 ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (Demand:กิโลวัตต์) บาท/กิโลวัตต์ ขั้นตอนที่ 2 ค่าพลังงานไฟฟ้า (Energy:หน่วย) บาท/หน่วย ขั้นตอนที่ 3 ค่าบริการ(Service Charge) บาท/เดือน ขั้นตอนที่ 4 ค่า Ft. บาท/หน่วย ขั้นตอนที่ 5 ค่า P.F. บาท/kVAR ขั้นตอนที่ 6 ขั้นตอนที่ 1+2+3+4+5 บาท ขั้นตอนที่ 7 ภาษีมูลค่าเพิ่ม(VAT 7 %) บาท ขั้นตอนที่ 8 รวมค่าไฟฟ้าที่เรียกเก็บ ( ขั้นตอนที่ 6+7) บาท ขั้นตอนการคิดค่าไฟฟ้า
ตัวอย่างที่ 1 ค่าไฟฟ้าคิดอัตราประเภทบ้านอยู่อาศัย กรณี ติดตั้งมิเตอร์ขนาดไม่เกิน 5 แอมป์ 1 เฟส 2 สาย และใช้พลังไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วย/เดือน หน่วยการใช้ไฟฟ้า 120 หน่วย/เดือน ค่า Ft 0.48 บาท/หน่วย
ตัวอย่างที่ 2 ค่าไฟฟ้าคิดอัตราประเภทบ้านอยู่อาศัย กรณี ติดตั้งมิเตอร์ขนาดเกินกว่า 5 แอมป์ 1 เฟส 2 สาย และใช้พลังไฟฟ้าเกิน 150 หน่วย/เดือนขึ้นไป หน่วยการใช้ไฟฟ้า 500 หน่วย/เดือน ค่า Ft 0.48 บาท/หน่วย
On Peak = 700 หน่วย Off Peak 1 = 500 หน่วย Off Peak 2 = 300 หน่วย รวม = 1,500 หน่วย ตัวอย่างที่ 3 ค่าไฟฟ้าคิดอัตราประเภทบ้านอยู่อาศัย อัตรา TOU (ระดับแรงดัน ต่ำกว่า 22 กิโลโวลท์) หน่วยการใช้ไฟฟ้า ค่า Ft 0.48 บาท/หน่วย
ตัวอย่างที่ 4 ค่าไฟฟ้าคิดอัตราประเภทกิจการขนาดเล็ก (แรงดัน 22 – 33 กิโลโวลท์) กิโลวัตต์สูงสุด 25 กิโลวัตต์ หน่วยการใช้ไฟฟ้า 500 หน่วย/เดือน ค่า Ft 0.48 บาท/หน่วย
ตัวอย่างที่ 5 ค่าไฟฟ้าคิดอัตราประเภทที่ 3 กิจการขนาดกลาง อัตราปกติ (Demand) (ระดับแรงดัน 22 – 23 กิโลโวลท์) กิโลวัตต์สูงสุด 100 กิโลวัตต์ หน่วยการใช้ไฟฟ้า 50,000 หน่วย/เดือน กิโลวาร์สูงสุด 60 กิโลวาร์ ค่า Ft 0.48 บาท/หน่วย
On Peak = 10,000 กิโลวัตต์ Partial Peak = 15,000 กิโลวัตต์ Off Peak = 12,000 กิโลวัตต์ ตัวอย่างที่ 6 ค่าไฟฟ้าคิดอัตราประเภทที่ 4 กิจการขนาดใหญ่ อัตรา TOD (ระดับแรงดัน 69 กิโลโวลท์) กิโลวัตต์สูงสุด หน่วยการใช้ไฟฟ้ารวม = 6,500,000 หน่วย กิโลวาร์สูงสุด = 10,000 กิโลวาร์ ค่า Ft = 0.48 บาท/หน่วย
ตัวอย่างที่ 7 ค่าไฟฟ้าคิดอัตราประเภทที่ 4 กิจการขนาดใหญ่ อัตรา TOU (ระดับแรงดัน 115 กิโลโวลท์) กิโลวัตต์สูงสุด On Peak = 7,500 กิโลวัตต์ Off Peak 1 = 6,000 กิโลวัตต์ Off Peak 2 = 5,000 กิโลวัตต์ หน่วยการใช้ไฟฟ้า 1,000,000 On Peak = หน่วย 850,000 Off Peak 1 = หน่วย Off Peak 2 = หน่วย 650,000 รวม = หน่วย 2,500,000 กิโลวาร์สูงสุด = 6,000 กิโลวาร์ ค่า Ft = 0.48 บาท/หน่วย