1 / 8

สรุปสถานการณ์การระบาด ศัตรูมะพร้าวมะพร้าว

สรุปสถานการณ์การระบาด ศัตรูมะพร้าวมะพร้าว. วันที่ 16 – 22 มิถุนายน 2554. รายงานสถานการณ์การระบาดศัตรูมะพร้าว. ในพื้นที่จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ ชลบุรี สุราษฎร์ธานี ระยอง ราชบุรี นนทบุรี สมุทรสาคร เพชรบุรี กรุงเทพมหานคร และนราธิวาส รวมพื้นที่ระบาด 87,240 ไร่ เกษตรกร 7,733 ราย.

Download Presentation

สรุปสถานการณ์การระบาด ศัตรูมะพร้าวมะพร้าว

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปสถานการณ์การระบาดศัตรูมะพร้าวมะพร้าวสรุปสถานการณ์การระบาดศัตรูมะพร้าวมะพร้าว วันที่ 16 – 22 มิถุนายน 2554

  2. รายงานสถานการณ์การระบาดศัตรูมะพร้าว ในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชลบุรี สุราษฎร์ธานี ระยอง ราชบุรี นนทบุรี สมุทรสาคร เพชรบุรี กรุงเทพมหานคร และนราธิวาส รวมพื้นที่ระบาด 87,240 ไร่ เกษตรกร 7,733 ราย ในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร เพชรบุรี ราชบุรี พัทลุง ตราด นนทบุรี สุทรสาครสมุทรสงคราม ระยอง และกรุงเทพมหานคร รวมพื้นที่ระบาด 144,532.75 ไร่เกษตรกร 14,691 ราย แมลงดำหนาม หนอนหัวดำ ด้วงแรด ในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ตราดและกรุงเทพมหานคร พื้นที่ระบาด 4,341 ไร่ เกษตรกร 1,074ราย รวมพื้นที่ระบาดศัตรูมะพร้าว 236,113.75 ไร่

  3. ปัจจัยที่มีผลต่อการระบาดปัจจัยที่มีผลต่อการระบาด การปฏิบัติการควบคุมยังไม่ครอบคลุมพื้นที่การระบาดทั้งหมด ประกอบกับไม่มีความต่อเนื่องและไม่เป็นไปตามคำแนะนำทางวิชาการทำให้ศัตรูมะพร้าวที่ยังคงเหลืออยู่ หลังการปฏิบัติการควบคุมแต่ละครั้งจะขยายพันธุ์ เพิ่มปริมาณและเข้าทำลายรอบพื้นที่การระบาดได้ เกษตรกรขาดการดูแลรักษาสวนมะพร้าวทำให้ต้นมะพร้าวอ่อนแอต่อการทำลายของแมลงศัตรูมะพร้าว การคาดการณ์ หนอนหัวดำ พื้นที่มีการระบาดมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เนื่องจากไม่ได้ดำเนินการป้องกันกำจัดหนอนหัวดำอย่างต่อเนื่องและยังไม่มีเทคโนโลยียืนยันเพื่อควบคุมระยะไข่ของหนอนหัวดำ แมลงดำหนาม พื้นที่ระบาดมีแนวโน้มลดลง จากผลของการปล่อยแตนเบียน Asecodeshispinarumอย่างต่อเนื่องและเกษตรกรได้รับความรู้การควบคุมศัตรูมะพร้าวประกอบกับมีฝนตกในพื้นที่ซึ่งไม่เหมาะสมกับการแพร่พันธุ์

  4. จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ดำเนินการปล่อยแตนเบียน A. hispinarum รวมทั้งหมด 578,470 มัมมี่ จาก - งบพัฒนาจังหวัด 140,000 มัมมี่ - งบองค์การบริหารส่วนตำบล 40,335 มัมมี่ - งบปกติของกรมส่งเสริมการเกษตร 398,135 มัมมี่ การดำเนินงานที่ผ่านมา หนอนหัวดำมะพร้าว จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ดำเนินการพ่น Bt กำจัดหนอนหัวดำ โดยใช้งบพัฒนาจังหวัด แมลงดำหนามมะพร้าว

  5. แนวทางการควบคุมศัตรูมะพร้าวแนวทางการควบคุมศัตรูมะพร้าว แผนการเฝ้าระวัง ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน ติดตามสถานการณ์อย่างต่อเนื่อง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง จากแปลงติดตามสถานการณ์ แผนการเตือนภัย เมื่อสำรวจพบหนอนหัวดำมีแนวโน้มการระบาดให้ประกาศเตือนภัยทางหอกระจายข่าวและวิทยุท้องถิ่น เพื่อให้เกษตรกรเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด

  6. แนวทางการจัดการศัตรูมะพร้าวในเขตตรวจราชการที่ 4 และ 5

  7. แนวทางการจัดการศัตรูมะพร้าวในเขตตรวจราชการที่ 4 และ 5 หมายเหตุ เป้าหมาย(มติที่ประชุมวันที่ 25 พ.ค. 54 ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่เขตตรวจราชการที่ 4 และ 5) - ศัตรูมะพร้าวต้องลดลงอย่างต่อเนื่องภายใน 2 ปี - ปลอดจากศัตรูมะพร้าวภายใน 5 ปี

  8. กราฟแสดงสถานการณ์การระบาดหนอนหัวดำและแมลงดำหนามมะพร้าว ปี ๒๕๕๓ - ๒๕๕๔จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

More Related