411 likes | 879 Views
กองทุนหลักประกันสุขภาพ ใน ระดับพื้นที่. วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างให้ ท้องถิ่นมีส่วนร่วม ในการจัดการเรื่องสุขภาพให้กับประชาชนในพื้นที่ และมี ความเป็นเจ้าของ ระบบหลักประกันสุขภาพ. ดุสิต ศรีโคตร dusit.s@nhso.go.th 084-7001667 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 7 ขอนแก่น. ผลลัพธ์คือ.
E N D
กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ วัตถุประสงค์ • เพื่อสร้างให้ท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการจัดการเรื่องสุขภาพให้กับประชาชนในพื้นที่ และมีความเป็นเจ้าของระบบหลักประกันสุขภาพ ดุสิต ศรีโคตร dusit.s@nhso.go.th 084-7001667 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 7 ขอนแก่น
ผลลัพธ์คือ.. การพึ่งตนเองด้านสุขภาพ “รอยยิ้มแห่งความสุข”
หลักการของกองทุน การเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อในชุมชนซึ่งเกิดจากพฤติกรรมของบุคคล โดยมีท้องถิ่นเป็นกลไกในพื้นที่ในการร่วมสร้างบทบาทของประชาชนเพื่อเชื่อมกับกลไกของสาธารณสุข
วัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพ 1. เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการหรือสถานบริการอื่น โดยเน้นการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคและการฟื้นฟูสภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต 2. เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้พิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในชุมชน สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ อย่างน้อยตามประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุขที่กำหนด 3. เพื่อให้เกิดการพัฒนาสุขภาพของคนในพื้นที่โดยการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วมของคนในท้องถิ่นและชุมชน
1. กรรมการ 4. ระบบ รายงาน 2. งบประมาณ 3. กิจกรรม องค์ประกอบสำคัญในการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น 4 องค์ประกอบ
1. กรรมการ ดำเนินการบริหารกองทุนในรูปแบบคณะกรรมการ
หน้าที่คณะกรรมการ • จัดทำข้อมูลและแผนดำเนินงานเกี่ยวกับปัญหาสาธารณสุข กลุ่มเป้าหมายและหน่วยบริการต่างๆที่เกี่ยวข้อง • ดำเนินการให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายต่างๆในพื้นที่สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขทั้งที่บ้าน ในชุมชนหรือที่หน่วยบริการได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ • บริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใสและจัดทำสรุปผลการดำเนินงานและงบดุลเพื่อเสนอ สปสช. ภายในเดือนธันวาคมของทุกปี • รับผิดชอบการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีกองทุนให้เป็นไปตามแบบแผนที่ สปสช. กำหนด • จัดตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานเพื่อดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
2. งบประมาณ แหล่งที่มางบของกองทุน 1. สปสช.สมทบ 2. อบต./เทศบาลสมทบ 3. เงินสมทบจากชุมชนหรือกองทุนชุมชน 4. รายได้อื่นๆ งบกองทุนเปิดบัญชี ธกส.ในนามกองทุน
3. กิจกรรม แผนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น แบ่งเป็น 4 ประเภท 1.จัดบริการตามชุดสิทธิประโยชน์ 2.สนับสนุนหน่วยงานสาธารณสุข 3.การสร้างเสริมสุขภาพโดยประชาชน องค์กร ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ 4.การบริหารจัดการกองทุน
4. รายงาน ๑.รายงานการเงิน บันทึกรายวัน รายเดือน ส่งรายไตรมาส ๒.รายงานกิจกรรม จัดทำรายเดือน ส่งรายไตรมาส ทุกกองทุนต้องจัดทำระบบรายงานผ่านอินเตอร์เน็ต(ออนไลน์)
ประชุม กรรมการ สรุปขั้นตอนการทำงานของ...กองทุน จัดทำแผนงาน โครงการ จัดทำระเบียบ กองทุน ติดตาม การดำเนินงาน รายงานผล (กิจกรรม/บัญชี) ดำเนินงาน ตามแผน แม่และเด็ก ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ประกอบอาชีพเสี่ยง โรคเรื้อรัง
งบสร้างสุขภาพในชุมชน (40.00บาท) พื้นที่ที่มีกองทุน พื้นที่เดิม 40.00 สสจ. สปสช.40.00 ประชาชนสมทบ รพ. 40.00 40.00 อบต.เทศบาลสมทบ รายได้อื่นของกองทุน สอ. • ขนาดเล็ก 20% กิจกรรมสุขภาพ กิจกรรมสุขภาพ • ขนาดกลาง 30% • ขนาดใหญ่ 50% • เทศบาล 50%
ภาพรวมกองทุนฯ เขต 7 ขอนแก่น
ภาพรวมกองทุนรายจังหวัดภาพรวมกองทุนรายจังหวัด
กรณีที่จำเป็นต้องใช้จ่ายเพื่อซื้อครุภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องโดยตรง ครุภัณฑ์นั้นจะต้องมีราคาไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาทต่อหน่วย • กรอบรักษาพยาบาลปฐมภูมิ เป็นบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานจำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตของประชาชน โดยเป็นบริการเชิงรุกที่บ้านหรือชุมชนในพื้นที่รับผิดชอบ ให้สามารถพึ่งตนเองในการดูแลสุขภาพ และเข้าถึงการบริการอย่างต่อเนื่อง ทั่วถึง และเท่าเทียม
แนวทางการสร้างสุขภาพโดยชุมชนแนวทางการสร้างสุขภาพโดยชุมชน Service approach Develope approach แนวทางเดิม • สร้างบทบาทของเจ้าหน้าที่ • สร้างเทคโนโลยีของเจ้าหน้าที่ • สร้างแผนงานโครงการ • บริการประชาชน แนวทางใหม่ • สร้างบทบาทของประชาชน • สร้างเทคโนโลยีของประชาชน • สร้างแผนงานโครงการ (อปท/กองทุน) • รัฐปรับเจตคติ/บทบาทของบุคลากร(ทุกฝ่าย)ให้ตอบสนอง
ตัวอย่าง..การคัดกรองเบาหวานตัวอย่าง..การคัดกรองเบาหวาน Service approach Develope approach แนวทางเดิม • เจ้าหน้าที่รับการอบรมคัดกรอง • หาข้อมูลสุขภาพสถานการณ์เบาหวาน • ทำโครงการตรวจคัดกรอง • ออกตรวจคัดกรอง แนวทางใหม่ • ประชาชนเสนอโครงการคัดกรอง • หากระบวนการทำงาน • คืนข้อมูลสุขภาพให้ชาวบ้าน • ประชุมชาวบ้าน
รูปแบบการพัฒนาศักยภาพกองทุนรูปแบบการพัฒนาศักยภาพกองทุน ใช้กลไกการดำเนิน งานในพื้นที่โดย พัฒนาศักยภาพทีมระดับอำเภอ
บทบาททีมพัฒนาศักยภาพกองทุน(ทีมอำเภอ)บทบาททีมพัฒนาศักยภาพกองทุน(ทีมอำเภอ)
หลักเกณฑ์การต่ออายุกองทุนหลักเกณฑ์การต่ออายุกองทุน
ขั้นตอนการพิจารณาการสนับสนุนโครงการของกองทุนขั้นตอนการพิจารณาการสนับสนุนโครงการของกองทุน http://tobt.nhso.go.th
การประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนใหม่การประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนใหม่
การเบิกจ่ายเงินให้กับโครงการการเบิกจ่ายเงินให้กับโครงการ
ขอบคุณทุกท่าน...สวัสดีครับขอบคุณทุกท่าน...สวัสดีครับ