1 / 23

ทบทวนวิธีการกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย

ทบทวนวิธีการกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย. วงจรการบริหารผลการปฏิบัติราชการ. วางแผน (Plan). ระบบ การบริหาร ผลการปฏิบัติราชการ. ติดตาม (Monitor). ให้รางวัล (Reward). ประเมิน (Appraise). พัฒนา (Develop). ทบทวนระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.

delta
Download Presentation

ทบทวนวิธีการกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทบทวนวิธีการกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายทบทวนวิธีการกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย

  2. วงจรการบริหารผลการปฏิบัติราชการวงจรการบริหารผลการปฏิบัติราชการ วางแผน (Plan) ระบบ การบริหาร ผลการปฏิบัติราชการ ติดตาม (Monitor) ให้รางวัล (Reward) ประเมิน (Appraise) พัฒนา (Develop)

  3. ทบทวนระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.

  4. การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน • 1. กำหนดตัวชี้วัด • เลือกใช้วิธีการกำหนดตัวชี้วัดวิธีใดวิธีหนึ่ง หรือหลายวิธีผสมกัน • วิธีการถ่ายทอดเป้าหมายและตัวชี้วัดจากบนลงล่าง (Goal Cascading) • วิธีการสอบถามความคาดหวังของผู้รับบริการ (Customer Focused) • วิธีการไล่เรียงตามผังการเคลื่อนของงาน (Workflow Charting) • วิธีอื่นๆที่เหมาะสม ต้นรอบการประเมิน 2. ระบุค่าเป้าหมาย กำหนดค่าเป้าหมายเป็น 5 ระดับ 3. สรุปและทำการตกลงเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้ประเมิน และ ผู้ปฏิบัติ และกำหนดลงในแบบฟอร์มฯ 4. ติดตามการปฏิบัติ (Monitor) และ ปรับปรุงตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมายตามความเหมาะสมและสภาพการณ์ ระหว่างรอบการประเมิน 5. ประเมินผลการปฏิบัติราชการ โดยพิจารณาจากผลการปฏิบัติงานจริงตามตัวชี้วัดเปรียบเทียบกับค่าเป้าหมายเพื่อให้คะแนนประเมิน ปลายรอบการประเมิน

  5. วิธีการถ่ายทอดเป้าหมายและตัวชี้วัดจากบนลงล่าง (Goal Cascading) วิธีการถ่ายทอดเป้าหมายและตัวชี้วัดจากบนลงล่าง (Goal Cascading) เป็นการกำหนดเป้าหมายการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติโดยอิงจากเป้าหมายของผู้บังคับบัญชาที่เหนือกว่า เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ เป้าหมายตามภารกิจและอื่นๆ หัวหน้า ส่วนราชการ รองหัวหน้า ส่วนราชการ คำรับรองการปฏิบัติราชการ ผู้อำนวยการ สำนัก/กอง/ศูนย์ หัวหน้าหน่วยงานภายใต้ สำนัก/กอง ผู้ปฏิบัติราชการที่ไม่มีผู้ใต้บังคับบัญชา

  6. แผนที่กลยุทธ์ของสำนักงานแรงงานจังหวัดแผนที่กลยุทธ์ของสำนักงานแรงงานจังหวัด 4 5 2 1 6 9 8 7 3

  7. 10 12 13 11

  8. วิธีการถ่ายทอดเป้าหมายและตัวชี้วัดจากบนลงล่าง (Goal Cascading): ต่อ วิธีการถ่ายทอดเป้าหมายและตัวชี้วัดจากบนลงล่าง (Goal Cascading) มีได้อย่างน้อย 3 รูปแบบ • ตัวชี้วัดและเป้าหมายเป็นตัวเดียวกับผู้ประเมินหรือหน่วยงาน • ตัวชี้วัดและเป้าหมายแบ่งส่วนจากตัวชี้วัดและเป้าหมายของผู้ประเมินหรือหน่วยงาน • ตัวชี้วัดและเป้าหมายเป็นคนละตัวกับผู้ประเมินหรือหน่วยงาน

  9. ตัวชี้วัดของสมใจ ระดับความสำเร็จในการพัฒนาระบบงานสารสนเทศ ตัวชี้วัดของสมทรง ระดับความสำเร็จในการพัฒนาระบบงานสารสนเทศ ตัวชี้วัดเป็นตัวเดียวกัน วิธีการถ่ายทอดเป้าหมายและตัวชี้วัดจากบนลงล่าง (Goal Cascading): ต่อ การกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายเป็นตัวเดียวกับผู้ประเมินหรือหน่วยงาน เป็นการถ่ายทอดเป้าหมายผลการปฏิบัติราชการลงมาโดยตรง • ผู้ประเมินกับผู้รับการประเมินต้องรับผิดชอบต่อความสำเร็จร่วมกัน ไม่สามารถแบ่งแยกงานระหว่างผู้ประเมินกับผู้รับการประเมินได้อย่างชัดเจน • ผู้ประเมินมอบหมายงานตามตัวชี้วัดของผู้ประเมินให้กับผู้รับการประเมินทั้งชิ้น โดยไม่แบ่งงานเป็นส่วนย่อยๆ รูปแบบที่ 1:ตัวชี้วัดและเป้าหมายเป็นตัวเดียวกับผู้ประเมินหรือหน่วยงาน

  10. วิธีการถ่ายทอดเป้าหมายและตัวชี้วัดจากบนลงล่าง (Goal Cascading): ต่อ การกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายแบ่งส่วนจากตัวชี้วัดและเป้าหมายของผู้ประเมินหรือหน่วยงาน • ผู้ประเมินกับผู้รับการประเมินจะมีตัวชี้วัดเดียวกัน โดยเป็นการถ่ายทอดตัวชี้วัดของผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชา) ไปสู่ผู้ปฏิบัติ (ผู้รับการประเมิน) • ค่าเป้าหมายของผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชา) จะถูกแบ่งเป็นส่วนๆให้กับผู้ปฏิบัติ รูปแบบที่ 2:ตัวชี้วัดและเป้าหมายแบ่งส่วนจากตัวชี้วัดและเป้าหมายของผู้ประเมินหรือหน่วยงาน ตัวชี้วัดของกรมฯ : ภาษีนิติบุคคลประจำปี ภาษีนิติบุคคลประจำปีของภาคที่ 2 ภาษีนิติบุคคลประจำปีของภาคที่ 3 ภาษีนิติบุคคลประจำปีของภาคที่ 1

  11. วิธีการถ่ายทอดเป้าหมายและตัวชี้วัดจากบนลงล่าง (Goal Cascading): ต่อ การกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายเป็นคนละตัวกับผู้ประเมินหรือหน่วยงานเป็นการถ่ายทอดเป้าหมายการปฏิบัติงานโดยอ้อม โดยพิจารณาถึงเฉพาะงานซึ่งผู้ปฏิบัติ (ผู้รับการประเมิน) ต้องปฏิบัติให้บรรลุเพื่อสนับสนุนต่อเป้าหมายของผู้ประเมิน/หน่วยงาน • ตัวชี้วัดของผู้รับการประเมินจะเป็นตัวชี้วัดที่ผู้รับการประเมินได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติราชการเพียงบางด้าน เนื่องจากผู้รับการประเมินไม่ได้ถูกคาดหวังว่าจะต้องรับผิดชอบต่อความสำเร็จทั้งหมดตามเป้าหมายของผู้ประเมิน รูปแบบที่ 3:ตัวชี้วัดและเป้าหมายเป็นคนละตัวกับผู้ประเมินหรือหน่วยงาน ตัวชี้วัดของสมทรง : ระดับความสำเร็จในการพัฒนาระบบงานสารสนเทศ ตัวชี้วัดของสุขใจ: ระดับความสำเร็จ ในการพัฒนาโปรแกรมและ นำระบบไปสู่การปฏิบัติ ตัวชี้วัดของสุรศักดิ์: ระดับความสำเร็จ ในการออกแบบระบบงาน

  12. วิธีการสอบถามความคาดหวังของผู้รับบริการ (Customer Focused) วิธีการสอบถามความคาดหวังของผู้รับบริการ (Customer Focused) เป็นการกำหนดตัวชี้วัดโดยพิจารณาถึงผู้รับบริการ และความต้องการ/ความคาดหวังของผู้รับบริการ ตัวอย่าง:

  13. วิธีการไล่เรียงตามผังการเคลื่อนของงาน (Workflow Charting) วิธีการไล่เรียงตามผังการเคลื่อนของงาน (Workflow Charting) เป็นวิธีการกำหนดตัวชี้วัดโดยการไล่กระบวนการหรือเนื้องานในส่วนที่ผู้รับการประเมินเป็นผู้รับผิดชอบ วิธีการนี้เหมาะกับการกำหนดตัวชี้วัดให้กับงานที่ไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับยุทธศาสตร์ แผนรับรองการปฏิบัติราชการ หรือแผนปฏิบัติราชการ ซึ่งทำให้ไม่สามารถใช้วิธีการถ่ายทอดเป้าหมายและตัวชี้วัดผลงานจากบนลงล่างได้ ตัวอย่าง: การคัดเลือกอาสาสมัครหมู่บ้าน การฝึกอบรมให้อาสาสมัคร นิธิพงศ์ ปานวาด ติดตามให้คำปรึกษาต่ออาสาสมัคร ตัวชี้วัด: ร้อยละของจำนวนครั้งที่จัดประชุมอาสาสมัครได้ตามแผนที่กำหนด ฝึกอบรมให้อาสาสมัครมีความรู้ สามารถนำไปถ่ายทอดต่อได้ ตัวชี้วัด: ระดับคะแนนประเมินผลของผู้รับการอบรมต่อการฝึกอบรม ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายทราบมากที่สุด เพื่อที่จะได้ผู้สมัครเข้ารับการคัดเลือก ตัวชี้วัด: จำนวนของผู้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเป็นอาสาสมัครเทียบกับเป้าหมาย

  14. กรอบการกำหนดค่าเป้าหมายกรอบการกำหนดค่าเป้าหมาย ระดับ 1 : ค่าเป้าหมายระดับต่ำสุดที่ยอมรับได้ ผู้ที่มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานในระดับนี้จะได้ หนึ่ง คะแนน ระดับ 2 : ค่าเป้าหมายระดับต่ำกว่ามาตรฐาน ผู้ที่มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานในระดับนี้จะได้ สอง คะแนน ระดับ 3 : ค่าเป้าหมายระดับมาตรฐาน ผู้ที่มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานในระดับนี้จะได้ สาม คะแนน ระดับ 4 : ค่าเป้าหมายระดับยากปานกลาง ผู้ที่มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานในระดับนี้จะได้ สี่ คะแนน ระดับ 5 : ค่าเป้าหมายระดับยากมาก ผู้ที่มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานในระดับนี้จะได้ ห้า คะแนน ค่าเป้าหมายต่ำสุดที่รับได้ ค่าเป้าหมายในระดับท้าทาย มีความยากค่อนข้างมาก โอกาสสำเร็จ <50% ค่าเป้าหมายในระดับต่ำกว่ามาตรฐาน ค่าเป้าหมายที่มีความยากปานกลาง ค่าเป้าหมายที่เป็นค่ามาตรฐานโดยทั่วไป

  15. การบูรณาการวิธีการกำหนดตัวชี้วัดต่างๆเพื่อกำหนดตัวชี้วัดรายบุคคลการบูรณาการวิธีการกำหนดตัวชี้วัดต่างๆเพื่อกำหนดตัวชี้วัดรายบุคคล ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของผู้บังคับบัญชา หรือหน่วยงานที่สังกัด วิธีการถ่ายทอดเป้าหมายและตัวชี้วัดผลงานจากบนลงล่าง ความคาดหวังหรือความต้องการของผู้รับบริการ วิธีการสอบถามความคาดหวังของผู้รับบริการ งานที่รับผิดชอบ ผลงานที่คาดหวังในรอบการประเมินทิ่พิจารณา ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย กระบวนงานที่เกี่ยวข้อง และเนื้องานที่เกี่ยวข้อง วิธีการไล่เรียงตามผังการเคลื่อนของงาน ปัจจัยในการพิจารณาตามแนวทางของวิธีการที่ใช้ วิธีการอื่นๆ

  16. การบูรณาการวิธีการกำหนดตัวชี้วัดต่างๆเพื่อกำหนดตัวชี้วัดรายบุคคล : ต่อ • ไม่ว่าจะใช้วิธีกำหนดตัวชี้วัดวิธีใด จะต้องคำนึงขอบเขตงานที่ผู้รับการประเมินรับผิดชอบหรือได้รับการมอบหมายเสมอ เลือกใช้วิธีการถ่ายทอดเป้าหมายและตัวชี้วัดผลงานจากบนลงล่างเป็นหลัก แล้วเสริมด้วยวิธีอื่น • พิจารณาจำนวนตัวชี้วัดที่เหมาะสม ครอบคลุมเนื้องาน/ความคาดหวังที่สำคัญ • ผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชา) จะต้องรู้ดีถึงเป้าหมาย/ความคาดหวังจากผู้ปฏิบัติ • การกำหนดตัวชี้วัด จะต้องคำนึงถึงมิติที่ใช้ในการจำแนกผลการปฏิบัติงาน เพื่อที่จะนำมิตินั้นๆมาใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน • คำนึงถึงความเป็นไปได้ในการเก็บข้อมูล และภาระในการเก็บข้อมูล

  17. การบูรณาการวิธีการกำหนดตัวชี้วัดต่างๆเพื่อกำหนดตัวชี้วัดรายบุคคล : ต่อ

  18. การบูรณาการวิธีการกำหนดตัวชี้วัดต่างๆเพื่อกำหนดตัวชี้วัดรายบุคคล : ต่อ กำหนดน้ำหนักให้กับตัวชี้วัดแต่ละตัว โดยเมื่อรวมกันแล้วต้องเท่ากับ 100 น้ำหนักของแต่ละตัวชี้วัดไม่ควร ต่ำกว่า 10% สรุปและเลือกตัวชี้วัดที่สำคัญ 3 2 1 ระบุ ค่าเป้าหมาย 5 ระดับ

  19. การบูรณาการวิธีการกำหนดตัวชี้วัดต่างๆเพื่อกำหนดตัวชี้วัดรายบุคคล : ต่อ ตัวอย่างการบูรณาการวิธีการกำหนดตัวชี้วัดต่างๆเพื่อกำหนดตัวชี้วัดรายบุคคล หน้าที่รับผิดชอบของสุขสันต์ ตัวชี้วัดของผู้บังคับบัญชา ระดับความสำเร็จใน การพัฒนาระบบงานสารสนเทศ พัฒนาโปรแกรมของระบบงานฐานข้อมูลบุคลากร วิธีการถ่ายทอดเป้าหมายและ ตัวชี้วัดผลงานจากบนลงล่าง ความคาดหวังของผู้รับบริการ เข้ามาแก้ไขปัญหาคอมพิวเตอร์เมื่อแจ้งปัญหาภายใน ๑ ชั่วโมง แก้ไขปัญหาคอมพิวเตอร์เมื่อผู้ใช้แจ้งปัญหาภายใน 1 ชั่วโมง วิธีการสอบถามความคาดหวังของผู้รับบริการ

  20. การบูรณาการวิธีการกำหนดตัวชี้วัดต่างๆเพื่อกำหนดตัวชี้วัดรายบุคคล : ต่อ ตัวอย่างการบูรณาการวิธีการกำหนดตัวชี้วัดต่างๆเพื่อกำหนดตัวชี้วัดรายบุคคล

  21. ตัวชี้วัด 3 ประเภท ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ คือ ตัวชี้วัดที่ได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อใช้วัดสิ่งที่นับได้ หรือสิ่งที่มีลักษณะเชิงกายภาพ โดยมีหน่วยการวัด เช่น จำนวน ร้อยละ และระยะเวลา เป็นต้น ตัวชี้วัดเชิงปริมาณจะมีความเป็นวิทยาศาสตร์ค่อนข้างสูง วัดในสิ่งที่จับต้องได้ เป็นรูปธรรม และมีความชัดเจน ตัวอย่าง: • จำนวนพื้นที่ที่ได้รับความเสียหายจากอุทกภัยที่สามารถแก้ไขฟื้นฟูได้ภายใน ๒ สัปดาห์ • ร้อยละของจำนวนโครงการที่สามารถดำเนินการลุล่วงได้ตามเป้าหมาย • ร้อยละของการเพิ่มขึ้นของประชาชนที่เข้ารับบริการ • ระยะเวลาเฉลี่ยของการจัดทำใบขับขี่

  22. ตัวชี้วัด 3 ประเภท : ต่อ ตัวชี้วัดเชิงปริมาณที่พัฒนาขึ้นเพื่อวัดสิ่งที่เป็นนามธรรมคือ ตัวชี้วัดที่ได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อใช้วัดสิ่งที่เป็นนามธรรม โดยสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในการวัดสิ่งที่เป็นนามธรรมเหล่านี้ขึ้น ตัวอย่าง:

  23. ตัวชี้วัด 3 ประเภท : ต่อ ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ คือ ตัวชี้วัดที่การวัดไม่เป็นค่าเชิงปริมาณ หรือเป็นหน่วยวัดใดๆ แต่จะเป็นการวัดที่อิงกับค่าเป้าหมายที่มีลักษณะพรรณนา หรือเป็นคำอธิบายถึงเกณฑ์การประเมิน ณ ระดับค่าเป้าหมายต่างๆ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายนี้ จึงทำหน้าที่เสมือนหนึ่งเป็นเกณฑ์หรือกรอบกำกับการใช้วิจารณญาณของผู้ประเมิน ตัวอย่าง:

More Related