220 likes | 556 Views
บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด ( มหาชน ). แผนป้องกันและระงับอุบัติภัยในสถานประกอบการและนิคมอุตสาหกรรม. วันที่ 30 – 31 ตุลาคม 2556. “ The World Class Developer in Thailand ”. HESIE. ESIE. บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด ( มหาชน ). การเตรียมพร้อมสำหรับภาวะฉุกเฉิน.
E N D
บริษัทเหมราชพัฒนาที่ดินจำกัด (มหาชน) แผนป้องกันและระงับอุบัติภัยในสถานประกอบการและนิคมอุตสาหกรรม วันที่ 30 – 31 ตุลาคม 2556 “The World Class Developer in Thailand”
HESIE ESIE
บริษัทเหมราชพัฒนาที่ดินจำกัด (มหาชน) การเตรียมพร้อมสำหรับภาวะฉุกเฉิน - ศูนย์ควบคุมภาวะฉุกเฉินเหมราช - รถดับเพลิงเจ้าหน้าที่ดับเพลิง พร้อมดำเนิน การตลอด24 ชม. - ป้อมตำรวจประจำนิคมอุตสาหกรรม - รถพยาบาล โรงพยาบาลสมิติเวช 7 วัน 24 ชม. ลานจอดเฮลิคอปเตอร์ - ลานจอด ฮ.
แผนฉุกเฉิน นิคมอุตสาหกรรมอีสเทิร์นซีบอร์ด (ระยอง) นิคมอุตสาหกรรมเหมราช อีสเทิร์นซีบอร์ด
แผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน(EMERGENCY RESPONSE PLAN) • แผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินของนิคมฯ ใช้เป็นแนวทางปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม้ หรือเกิดอุบัติภัยอื่นๆ ต่อทรัพย์สินอาคารสำนักงานนิคมอุตสาหกรรมฯ โรงกรองน้ำ โรงบำบัดน้ำเสีย และพื้นที่ส่วนกลางของนิคมฯ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของ บริษัท อีสเทิร์นซีบอร์ด อินดัสเตรียล เอสเตท (ระยอง) จำกัด และบริษัทเหมราชอีสเทิร์นซีบอร์ด อินดัสเตรียล เอสเตท จำกัด • ร่วมประสานงานกับโรงงานฯ ที่ตั้งอยู่ภายในเขตนิคมฯ เมื่อเกิดเหตุอุบัติเหตุ หรือเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน • ทั้งนี้แผนฉุกเฉินของนิคมฯ ได้ปรับปรุงให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติภาวะฉุกเฉินด้านสารเคมีและวัตถุอันตราย จังหวัดระยอง ฉบับ พฤษาคม 2553 และมีการทบทวนทุก 1 ปี
วัตถุประสงค์ • ระงับเหตุเพื่อลดอันตราย และความเสียหายต่อชีวิตคน และผลกระทบต่อชุมชนให้มีน้อยที่สุด • รักษาทรัพย์สิน และอุปกรณ์ให้เกิดความเสียหายน้อยที่สุด • เป็นแบบแผน และแนวทางปฏิบัติ สำหรับใช้ขณะเกิดเหตุฉุกเฉิน ภายในนิคมอุตสาหกรรมอีสเทิร์นซีบอร์ด (ระยอง) และนิคมอุตสาหกรรมเหมราชอีสเทิร์นซีบอร์ดโดยจะกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงาน ทั้งในส่วนที่เกี่ยวข้องโดยตรง หรือไม่เกี่ยวข้องโดยตรงก็ตาม ในการระงับเหตุ ซึ่งรวมถึงการสื่อสาร ประสานงานระหว่างหน่วยงานในแต่ละระดับของสถานการณ์
การปฏิบัติการควบคุมภาวะฉุกเฉินการปฏิบัติการควบคุมภาวะฉุกเฉิน กำหนดให้มีการจัดระดับชั้นเหตุภาวะฉุกเฉินของนิคมฯไว้ 3 ระดับ ดังนี้ : เหตุการณ์ผิดปกติ เหตุฉุกเฉินระดับ 1 เหตุฉุกเฉินระดับ2
เหตุการณ์ผิดปกติ หมายถึง: เหตุการณ์ที่ส่งผลกระทบหรืออาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนและโรงงานข้างเคียง เนื่องจากกิจกรรมของผู้ประกอบการ หรือเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้นแล้ว บริษัทหรือหน่วยงานที่เกิดขึ้นนั้นสามารถควบคุมและระงับเหตุฉุกเฉิน ได้ด้วยตนเองโดยใช้กำลังคนและอุปกรณ์ที่องค์กรมีอยู่ เช่น อุบัติเหตุจราจรใน พท. นิคมฯ , เหตุผิดปกติในโรงงานอุตสาหกรรมที่สามารถระงับได้ด้วยตนเอง
เหตุฉุกเฉินระดับ 1 หมายถึง: เหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้นต่อเนื่องจากเหตุผิดปกติหรือเหตุฉุกเฉินที่มีความรุนแรงส่งผลกระทบต่อภายนอกทันที โดยบริษัทหรือหน่วยงานที่เกิดเหตุนั้นไม่สามารถควบบคุมเหตุการณ์ดังกล่าวได้ ด้วยกำลังคนและอุปกรณ์ของบริษัทหรือหน่วยงานที่เกิดเหตุ ต้องขอความช่วยเหลือจากสำนักงานนิคมฯ และหน่วยงานภายนอกอื่นๆ โดยบริษัทหรือหน่วยงานที่เกิดเหตุฉุกเฉินนั้นแจ้งร้องขอความช่วยเหลือจากสำนักงานนิคมฯ ก่อนที่จะขอความช่วยเหลือไปยังหน่วยงานราชการภายนอก
เหตุฉุกเฉินระดับ2 หมายถึง: เหตุฉุกเฉินต่อเนื่องจากเหตุฉุกเฉินระดับ 1 หรือเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้นแล้วมีผลกระทบต่อเนื่องถึงหน่วยงานภายนอกทั้งโรงงานและชุมชนใกล้เคียงหรือส่งผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรงเป็นวงกว้างทันที เกินความสามารถของบริษัทที่เกิดเหตุ และทีมระงับเหตุตามแผนฉุกเฉินของสำนักงานนิคม และหรือบริษัทภายนอกอื่นๆ ที่จะระงับเหตุหรือควบคุมสถานการ์ไว้ได้ ต้องขอความช่วยเหลือจากกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณะภัยองค์กรปกครองท้องถิ่นในพื้นที่ (เข้าสู่แผนระดับ 1 ของจังหวัด)
แผนผังการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินแผนผังการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ศูนย์อำนวยการควบคุมภาวะฉุกเฉิน ESIE Emergency Director (ED) ESIE • ที่ปรึกษา (Consultant) • โรงงานที่เกิดเหตุ • ผู้เชี่ยวชาญ ผู้สั่งการ ณ จุดเกิดเหตุ On scene Commander ทีมตัดแยกระบบ Isolation Team ทีมปฐมพยาบาล (First Aid Team) ทีมสนับสนุน Support Team ทีมจราจร Traffic Team ทีมประสานงาน Mutual Aid แผนควบคุมภาวะฉุกเฉิน (ระดับ 1) อ.ปลวกแดง, อบต.ปลวกแดง, อบต.ท้องที่ หรือสถานีดับเพลิงท้องที่ แผนควบคุมภาวะฉุกเฉิน (ระดับ 2) จังหวัด
ลำดับขั้นการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินของนิคมฯลำดับขั้นการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินของนิคมฯ การควบคุมเหตุการณ์ เกิดเหตุผิดปกติหรือฉุกเฉินภายในโรงงานฯ ควบคุมได้ เหตุผิดปกติ ควบคุมไม่ได้(ตัวแทนจากบริษัทที่เกิดเหตุแจ้งขอความช่วยเหลือจากสำนักงานนิคมฯเข้าสู่เหตุฉุกเฉินระดับ 1 ของนิคมฯ) การควบคุมเหตุในระดับ 1 เกิดเหตุผิดปกติหรือฉุกเฉินภายในบริษัทแล้วส่งผลกระทบต่อภายนอก ควบคุมได้ เหตุฉุกเฉินระดับ 1 ควบคุมไม่ได้ (เข้าสู่เหตุฉุกเฉินระดับ 2) ตัวแทนจากบริษัทที่เกิดเหตุแจ้งขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานราชการท้องถิ่น (อบต.ปลวกแดง, อบต.ตาสิทธิ์, เทศบาลจอมพลเจ้าพระยา) เหตุฉุกเฉินระดับ 2 (เข้าสู่แผนฉุกเฉินของจังหวัดระดับ 1,2)
แผนผังการติดต่อสื่อสารระดับอำเภอ (ปลวกแดง) โรงงาน ดับเพลิงเหมราช (ESIE) โทรศัพท์ 038-954543-5 วิทยุ ว.แดง CH 22 • ร.พ ปลวกแดง • ตำรวจภูธรปลวกแดง • มูลนิธิกู้ภัยปลวกแดง • โรงงานข้างเคียง งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อบต.ปลวกแดง โทรศัพท์ 038-659869 , 084-147-4751 ศูนย์วิทยุ ร่มโพธิ์ ความถี่ 162.125 MHz ทต.จอมพลเจ้าพระยา โทรศัพท์ 038-964176 ทต.บ้านปลวกแดง โทรศัพท์ 038-878257-8 อำเภอปลวกแดง โทรศัพท์ 038-659003 อบต.ตาสิทธิ์ โทรศัพท์ 038-964220 อบต.มาบยางพร โทรศัพท์ 038-659134 อบต.หนองไร่ โทรศัพท์ 038-626040 อบต.แม่น้ำคู้ โทรศัพท์ 038-913274 อบต.ละหาร โทรศัพท์ 038-961505
4 การติดต่อและประสานการปฏิบัติ 3 ช่วยเหลือ/สนับสนุน 2 จังหวัด 3 2 1 ท้องถิ่น/อำเภอ ร้องขอ /สนับสนุน ร้องขอ/ สนับสนุน 2 1 เตรียมพร้อม เพื่อทราบ/เตรียมพร้อม ผิดปกติ 1 เพื่อทราบ นิคมฯ โรงงาน