340 likes | 591 Views
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร. การตรวจสถานที่ผลิตอาหาร (น้ำหมากเม่า) และส่งตัวอย่างตรวจวิเคราะห์ จังหวัดสกลนคร ปี 2554. 1. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร. หัวข้อ. 1. การตรวจประเมินสถานที่ผลิตอาหารตามเกณฑ์ GMP 2 . การตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำหมากเม่า ตามประกาศเครื่องดื่มฯ. 2.
E N D
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนครสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร การตรวจสถานที่ผลิตอาหาร (น้ำหมากเม่า) และส่งตัวอย่างตรวจวิเคราะห์ จังหวัดสกลนคร ปี 2554 1
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนครสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร หัวข้อ 1. การตรวจประเมินสถานที่ผลิตอาหารตามเกณฑ์ GMP 2. การตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำหมากเม่า ตามประกาศเครื่องดื่มฯ 2
จำนวนสถานที่ผลิตน้ำหมากเม่าจังหวัดสกลนครจำนวนสถานที่ผลิตน้ำหมากเม่าจังหวัดสกลนคร สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร • สถานที่ผลิตน้ำหมากเม่า มีทั้งหมด 15 แห่ง • อ.เมือง 2 แห่ง ได้แก่ รัฐพงษ์น้ำอ้อย,หจก สยามเบฟ • อ.พังโคน 1 แห่ง ได้แก่ น้ำเม่าราชมงคล • อ.วาริชฯ 1 แห่ง ได้แก่ น้ำเม่าวาริช • อ.กุดบาก 1 แห่ง ได้แก่ ศูนย์อินแปง • อ.โคกศรีสุพรรณ 2 แห่ง ได้แก่ กลุ่มโคกนาดี, บ้านเหล่าเหนือ • อ.ภูพาน 8 แห่ง ได้แก่ น้ำเม่าวรรณวงศ์,เกษตรที่สูงไทรทอง • สหกรณ์โนนหัวช้าง,ไร่ภูพานรีสอร์ท,น้ำเม่าพิงค์ภูพาน,น้ำเม่าภูพาน • วิสาหกิจชุมชนโนนหัวช้าง, วิสาหกิจชุมชนภูพานการเกษตร
555 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร GMPสถานที่ผลิตน้ำเม่าแบ่งได้ 6 หมวด หมวด 6 : บุคลากร และสุขลักษณะของผู้ปฏิบัติงาน หมวด 1 : สถานที่ตั้งและอาคารผลิต 15% 20% หมวด 5 : การบำรุงรักษาและการทำความสะอาด หมวด 2 : เครื่องมือเครื่องจักร 15% 10% 15% 25% หมวด 3 : การควบคุมกระบวนการผลิต หมวด 4 : การสุขาภิบาล
ปัญหาที่พบ หมวดที่ 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร 1.มีการสะสมของสิ่งของที่ไม่ใช้แล้วหรือไม่เกี่ยวข้องกับการผลิต อยู่ในบริเวณผลิต 2.อาคารผลิตไม่มีการแยกบริเวณผลิตอาหารออกเป็นสัดส่วนจากที่พักอาศัยและผลิตภัณฑ์อื่นๆ 3.สถานที่ใกล้เคียงมีการสะสมของสิ่งปฏิกูล 5
ปัญหาที่พบ หมวดที่ 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร มีการสะสมของสิ่งของที่ไม่ใช้แล้ว หรือไม่เกี่ยวข้องกับการผลิต อยู่ในบริเวณผลิต พื้นที่ไม่คงทน และทำความสะอาดยาก 6
ปัญหาที่พบ หมวดที่ 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ไม่มีท่อหรือทางระบายน้ำนอกอาคาร ไม่มีมาตรการป้องกันการปนเปื้อนจากสัตว์และแมลง 7
ปัญหาที่พบ หมวดที่ 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร 1.รอยต่อเครื่องมือ เครื่องจักร ไม่เรียบทำความสะอาดยาก 2.พื้นผิวโต๊ะปฏิบัติงานที่สัมผัสอาหาร เป็นไม้ ผุกร่อน และมีความสูงจากพื้นไม่เหมาะสม 3.อยู่ในตำแหน่งที่ทำความสะอาดยาก 8
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนครสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ปัญหาที่พบ หมวดที่ 2 วัสดุผิวเรียบ ไม่เป็นสนิม ทำความสะอาดง่าย (สายยาง) วัสดุผิวเรียบ ไม่เป็นสนิม ทำความสะอาดง่าย (สายยาง) 9
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนครสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ปัญหาที่พบ หมวดที่ 2 วัสดุผิวเรียบ ไม่เป็นสนิม ทำความสะอาดง่าย (สายยาง) พื้นหรือโต๊ะปฏิบัติงานที่สัมผัสอาหาร ไม่เป็นสนิท ไม่เป็นพิษ ทนต่อการ กัดกร่อน 10
ปัญหาที่พบ หมวดที่ 3 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร 1.ไม่มีการควบคุมกระบวนการผลิตอย่างเหมาะสม 2.ไม่มีการตรวจสอบวิเคราะห์คุณภาพของผลิตภัณฑ์โดยต้องเก็บบันทึกไว้อย่างน้อย 2 ปี 3.ในระหว่างการผลิต มีการดำเนินการขนย้ายวัตถุดิบ ส่วนผสม ภาชนะบรรจุและบรรจุภัณฑ์ ในลักษณะที่ไม่เกิดการปนเปื้อน 11
ปัญหาที่พบหมวดที่ 3 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร การจัดเก็บผลิตภัณฑ์ไม่เหมาะสม ไม่มีการควบคุมกระบวนการผลิตอย่างเหมาะสม 12
ปัญหาที่พบหมวดที่ 3 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร การจัดเก็บผลิตภัณฑ์ไม่เหมาะสม ไม่มีการควบคุมกระบวนการผลิตอย่างเหมาะสม 13
ปัญหาที่พบ หมวดที่ 4 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร 1.ไม่มีการภาชนะใส่ขยะพร้อมฝาปิด 2.ไม่มีมาตรการในการป้องกันมิให้สัตว์หรือแมลง เข้าในบริเวณผลิต 3.ไม่มีอ่างล้างมือ พร้อมอุปกรณ์ในการฆ่าเชื้อ มีแต่อยู่ในสภาพที่ไม่สามารถใช้งานได้ 4.ห้องส้อมไม่ได้แยกจากบริเวณผลิต/เปิดสู่ที่ผลิตโดยตรง 14
ปัญหาที่พบ หมวดที่ 4 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ไม่มีอ่างล้างมือพร้อมสบู่ หรือน้ำยาฆ่าเชื้อโรค ห้องส้วมไม่แยกจากบริเวณผลิต และอยู่ในสภาพใช้งานไม่ได้ ไม่มีมาตรการในการป้องกันสัตว์ หรือแมลงเข้าในบริเวณผลิต 15
ปัญหาที่พบ หมวดที่ 5 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร 1.อาคารผลิตไม่อยู่ในสภาพที่สะอาด ไม่มีมาตรการดูและทำความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ 2.มีการเก็บสารเคมีไม่เหมาะสม ไม่มีป้ายแสดงชื่อ แยกให้เป็นสัดส่วนที่เหมาะสม 3.เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์การผลิตที่สัมผัสอาหารต้องทำความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ 16
ปัญหาที่พบ หมวดที่ 5 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร การเก็บอุปกรณ์ที่ทำความสะอาดแล้ว ไม่เป็นสัดส่วน อยู่ในสภาพที่ไม่เหมาะสม 17
ปัญหาที่พบ หมวดที่ 5 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร การเก็บอุปกรณ์ที่ทำความสะอาดแล้ว เป็นสัดส่วน อยู่ในสภาพที่เหมาะสม 18
ปัญหาที่พบ หมวดที่ 5 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์การผลิตมีการทำความสะอาดก่อน-หลัง มีการดูแลบำรุงรักษา ให้อยู่ในสภาพใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพสม่ำเสมอ 19
ปัญหาที่พบ หมวดที่ 6 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร 1.คนงาน พนักงาน ไม่ใส่ผ้ากันเปื้อน หมวกคลุมผม 2.มือเล็บไม่สะอาด ใส่เครื่องประดับ ขณะทำงาน 3.ไม่มีการล้างมือ ก่อนที่หยิบจับอาหาร 4.บริโภคอาหาร สูบบุหรี่ขณะผลิตอาหาร 5.ไม่มีมาตรการจัดการรองเท้าที่ใช้ในบริเวณผลิต 20
ปัญหาที่พบ หมวดที่ 6 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร มีผ้ากันเปื้อน หมวกคลุมผม แต่.... การจัดเก็บผ้ากันเปื้อน ถุงมือ หมวกคลุมผม 21
หมวดที่ 6 บุคลากรและสุขลักษณะผู้ปฏิบัติงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร มีการจัดการรองเท้าที่ใช้ในบริเวณผลิต มีผ้ากันเปื้อน ถุงมือ หมวกคลุมผม 22 มีข้อปฏิบัติสำหรับผู้ที่ไม่เกี่ยวข้อง
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนครสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร การตรวจวิเคราะห์คุณภาพ ปี 2554 1.ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพน้ำหมากเม่า ตามประกาศ เครื่องดื่มฯ 2.ส่งตรวจ ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์อุดรธานี โดยสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร เสียค่าตรวจวิเคราะห์ 3.แจ้งผลการตรวจวิเคราะห์ให้กับผู้ประกอบการทราบ 4.ดำเนินการเปรียบเทียบปรับ ตาม พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ.2522 กับผู้ที่มีผลการตรวจวิเคราะห์ไม่ผ่านมาตรฐาน 23
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนครสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร สาเหตุการพบเชื้อยีสต์และราในเครื่องดื่ม 1. สถานที่ตั้งและอาคารผลิต ไม่สะอาด ก่อให้เกิดการปนเปื้อนได้ง่าย ใกล้กับสิ่งแวดล้อมที่มีโอกาสก่อให้เกิดการปนเปื้อนกับอาหาร เช่น แหล่งเพาะพันธุ์สัตว์แมลง กองขยะ คอกปศุสัตว์ โดยเฉพาะ บริเวณที่ฝุ่นมาก มักพบสปอร์ของรา ซึ่งมีขนาดเล็ก เบา ทนต่อความแห้งได้ดี และยังพบยีสต์ โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง ยีสต์ ชนิดที่มีสปอร์ 24
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนครสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร สาเหตุการพบเชื้อยีสต์และราในเครื่องดื่ม 2. เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต ไม่สะอาด หรือยากแก่การทำความสะอาด เช่น อุปกรณ์ที่ทำด้วยไม้ จะเกิดการเปียกชื้น และเป็นแหล่งสะสมของ เชื้อรา และผ้าที่ใช้กรองเครื่องดื่ม ไม่สะอาด เปียกชื้น สายยาง เป็นต้น 3. วัตถุดิบ ผลไม้ หรือผัก มีการปนเปื้อนยีสต์และราชนิดต่างๆ คัดเลือกวัตถุดิบที่มีคุณภาพดี มีการล้างทำความสะอาด ตามความจำเป็น 25
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนครสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร สาเหตุการพบเชื้อยีสต์และราในเครื่องดื่ม 3.1 การควบคุมอุณหภูมิ และเวลา ในการผลิตไม่เหมาะสม ต้องมีการควบคุมอุณหภูมิและเวลา ในการผลิตอาหาร เช่น การใช้ความร้อน ที่ 160-165 องศาฟาเรนไฮต์ (71.7-73.5 องศาเซลเซียส) นาน 20 นาที ในการผลิตเครื่องดื่ม น้ำผลไม้ ซึ่งเพียงพอต่อการทำลายยีสต์และราได้ 4. การสุขาภิบาลต้องมีการจัดการสุขาภิบาลที่ดี เพื่อลดการปนเปื้อนของยีสต์และรา และจุลินทรีย์ชนิดอื่นๆ 26
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนครสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร สาเหตุการพบเชื้อยีสต์และราในเครื่องดื่ม 5. การบำรุงรักษา และการทำความสะอาด ต้องทำความสะอาดเครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ในการผลิต ให้อยู่ในสภาพที่สะอาด ก่อนและหลังการผลิตสม่ำเสมอ 6. บุคลากรมีสุขภาพไม่ดี มีการแต่งกาย และพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ต้องฝึกอบรมให้มีความรู้ ในการผลิตอาหาร เพื่อลดและขจัดความเสี่ยงในการปนเปื้อนอันตรายที่จะไปสู่อาหาร 27
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนครสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภาพการส่งตัวอย่าง ปี 2553 28
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนครสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภาพการส่งตัวอย่าง ปี 2553 29
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนครสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภาพต้นหมากเม่า ณ สำนักงานสาธารณสุขสกลนคร 30
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนครสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภาพต้นหมากเม่า ณ สำนักงานสาธารณสุขสกลนคร 31
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนครสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภาพต้นหมากเม่า ณ สำนักงานสาธารณสุขสกลนคร 32
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนครสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร สวัสดี • มุ่งมั่นร่วมประสาน มุ่งจัดการความปลอดภัย • สร้าง GMP ให้คงไว้ พัฒนาน้ำเม่าสกลฯให้ยั่งยืน