1 / 14

หัวเรื่อง : หน้าต้อนรับเข้าสู่บทเรียน

File : tu110_welcome_10.swf. หัวเรื่อง : หน้าต้อนรับเข้าสู่บทเรียน. Enter Course. คลิก Enter เพื่อเข้าสู่บทเรียน. Music Bg. คลิก enter link ลิงค์ไปยังไฟล์ tu110_Objective_10.swf. ยินดีต้อนรับเข้าสู่. รหัสวิชา TU110 สหวิทยาการมนุษยศาสตร์ ( Integrated Humanities).

Download Presentation

หัวเรื่อง : หน้าต้อนรับเข้าสู่บทเรียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. File :tu110_welcome_10.swf หัวเรื่อง : หน้าต้อนรับเข้าสู่บทเรียน Enter Course คลิก Enter เพื่อเข้าสู่บทเรียน Music Bg • คลิก enter link ลิงค์ไปยังไฟล์ tu110_Objective_10.swf ยินดีต้อนรับเข้าสู่ รหัสวิชา TU110 สหวิทยาการมนุษยศาสตร์ (Integrated Humanities) บทที่ 10 : การปฏิรูปจักรี กบฏ รศ.130 และ ปฏิวัติ 2475

  2. File :tu110_Objective_10.swf หัวเรื่อง : หน้าวัตถุประสงค์รายวิชา วัตถุประสงค์การเรียนรู้ • ……………………………………………………………………………………… • ……………………………………………………………………………………… • ……………………………………………………………………………………… • ……………………………………………………………………………………… • ……………………………………………………………………………………… • ……………………………………………………………………………………… Enter Course คลิก Enter เพื่อเข้าสู่บทเรียน • เมื่อคลิกปุ่ม Enter Course เข้าสู่ไฟล์ : tu110 home_10.swf

  3. File :tu110_home_10.swf หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทเรียน สารบัญบท แนวคิดมนุษยนิยมในสยาม คลิกเลือกหัวข้อที่ต้องการศึกษา Music Background • เมื่อคลิกปุ่ม แนวคิดมนุษยนิยมในสยาม ลิงค์ไปยังไฟล์ tu110_10_01 .swf

  4. File :tu110_10_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา แนวคิดมนุษยนิยมในสยาม 1 • ตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 บริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษมีนโยบายขยายเส้นทางการค้าจากอินเดียไปจีน ได้จัดส่งทูตเข้ามาติดต่อตกลงทำสัญญาความสัมพันธ์ทางไมตรีและการค้ากับสยามในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย 1 2 กบฏ รศ.130 การปฏิวัติ 2475 การปฏิวัติ 2475 สวัสดีครับมาพบกันครั้งนี้เราจะมาดูกันครับว่าเหตุการณ์การปฏิรูปจักรี กบฏ รศ.130 และ การปฏิวัติ 2475 มีความเป็นมาและมีอะไรเกิดขึ้นบ้าง ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 บริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษมีนโยบายขยายเส้นทางการค้าจากอินเดียไปจีน ได้จัดส่งทูตเข้ามาติดต่อตกลงทำสัญญาความสัมพันธ์ทางไมตรีและการค้ากับสยามในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ และเฟดภาพลำดับที่หนึ่งและสองออกไป • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพ และข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก NEXT ปรากฏสไลด์ถัดไป 1 2 1 1 2 2 2 3 4 1 บริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ 4 3 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เรือของบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ

  5. File :tu110_10_02.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา แนวคิดมนุษยนิยมในสยาม 1 3 • ตลอดคริสต์ศตวรรษที่ 19 ได้เกิดการกรณีพิพาทและสงครามระหว่างชาติตะวันตกกับไทย รวมทั้งรัฐอื่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ • การปกครองระบบอาณานิคมในพม่าและสหพันธรัฐมลายูของอังกฤษ • การปกครองระบบอาณานิคมในดินแดนอินโดจีนของฝรั่งเศส 1 2 2 3 การปกครองระบบอาณานิคมในพม่า อาณานิคมในดินแดน อินโดจีนของฝรั่งเศส ในช่วงตลอดคริสต์ศตวรรษที่ 19 ได้เกิดการกรณีพิพาทและสงครามระหว่างชาติตะวันตกกับไทย รวมทั้งรัฐอื่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันนำไปสู่การปกครองระบบอาณานิคมในพม่าและสหพันธรัฐมลายูของอังกฤษ และการปกครองระบบอาณานิคมในดินแดนอินโดจีนของฝรั่งเศส • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพและข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพและข้อความ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพและข้อความ • เมื่อคลิก NEXT ปรากฏสไลด์ถัดไป 1 2 3 1 1 2 2 3 3

  6. File :tu110_10_03.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา แนวคิดมนุษยนิยมในสยาม 1 • ผลกระทบต่อประเทศไทย คือ กลุ่มชนชั้นนำในกรุงเทพฯ ได้เริ่มปรับตัวรับวิทยาการตะวันตกตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลต่อๆ มา มีการยกเลิกธรรมเนียมปฏิบัติเดิมที่ล้าหลังหลายอย่างในสยาม • เริ่มการเปลี่ยนแปลงประเทศตามแนวทางตะวันตกในหลายเรื่อง โดยเฉพาะการปฏิรูปจักรี 1 2 2 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ผลกระทบต่อประเทศไทยคือ กลุ่มชนชั้นนำในกรุงเทพฯ ได้เริ่มปรับตัวรับวิทยาการตะวันตกตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และในรัชกาลต่อ ๆ มา มีการยกเลิกธรรมเนียมปฏิบัติเดิมที่ล้าหลังหลายอย่างในสยาม และเริ่มการเปลี่ยนแปลงประเทศตามแนวทางตะวันตกในหลายเรื่อง โดยเฉพาะการปฏิรูปจักรี • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพ และข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก NEXT ปรากฏสไลด์ถัดไป 1 1 1 2 1 2

  7. File :tu110_10_04.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา แนวคิดมนุษยนิยมในสยาม 1 • การปฏิรูปจักรีมีการปฏิรูประบบการบริหารราชการแผ่นดินในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว • เกิดระบบราชการ จัดตั้งกองทัพสมัยใหม่ ปฏิรูปการจัดเก็บภาษีเข้าสู่ส่วนกลาง ปฏิรูปด้านการศาล • การสร้างการสื่อสารและคมนาคมสมัยใหม่ เช่น การสร้างทางรถไฟกับรถราง จัดตั้งระบบไปรษณีย์ การวางสายโทรเลข โทรศัพท์ • การสร้างความทันสมัยต่าง ๆ เช่น การผลิตไฟฟ้า การจัดชลประทาน การสาธารณสุข การจัดตั้งธนาคาร เป็นต้น เกิดระบบราชการ 1 2 2 3 4 3 การสร้างทางรถไฟกับรถราง 5 การจัดตั้งธนาคาร จัดตั้งระบบไปรษณีย์ การผลิตไฟฟ้า การปฏิรูปจักรีนั้นมีการปฏิรูประบบการบริหารราชการแผ่นดินในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เกิดระบบราชการ จัดตั้งกองทัพสมัยใหม่ ปฏิรูปการจัดเก็บภาษีเข้าสู่ส่วนกลาง ปฏิรูปด้านการศาล สร้างการสื่อสารและคมนาคมสมัยใหม่ เช่น การสร้างทางรถไฟกับรถราง จัดตั้งระบบไปรษณีย์ การวางสายโทรเลข โทรศัพท์ และการสร้างความทันสมัยต่าง ๆ เช่น การผลิตไฟฟ้า การจัดชลประทาน การสาธารณสุข การจัดตั้งธนาคาร เป็นต้น • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • แสดงภาพขึ้นมาให้ครบจากนั้น • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความ และภาพ ลำดับที่ กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความ และภาพ ลำดับที่ กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความ และภาพ ลำดับที่ กระพริบ • เมื่อคลิก NEXT ปรากฏสไลด์ถัดไป 1 2 1 1 3 1 2 2 2 3 3 3 4 5

  8. File :tu110_10_05.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา แนวคิดมนุษยนิยมในสยาม ทรงเลิกทาส 2 1 • สิ่งที่เกิดขึ้นกับสังคมเมื่อมีการปฏิรูปจักรี คือ • การเลิกทาสหลายขั้นตอนจากปี 2417-2448 • การออก พ.ร.บ. ลักษณะการเกณฑ์ทหาร ปี 2448 ทำให้ชนชั้นไพร่ทาส ได้กลายเป็นราษฎรไทย • เทียนวรรณ นักหนังสือพิมพ์สมัยรัชกาลที่ 5 เขียนความเห็นและวิจารณ์สังคมและระบบการปกครองในสมัยนั้น ลงในหนังสือพิมพ์ ตุลวิภาคพจนกิจ (2443-2449) และ ศิริพจนภาค (2451) เสนอให้มีการปกครองประเทศในระบบรัฐสภา 1 2 3 ทรงยกเลิกระบบไพร่ 3 เทียนวรรณ การปฏิรูปจักรี ส่งผลกระทบทางสังคมด้วย มีการเลิกทาสหลายขั้นตอนจากปี 2417-2448 รวมทั้งมีการยกเลิกระบบไพร่ ในการออก พ.ร.บ. ลักษณะการเกณฑ์ทหาร ปี 2448 ทำให้ชนชั้นไพร่ทาส ได้กลายเป็นราษฎรไทย ซึ่งมีหน้าที่ประกอบอาชีพเลี้ยงตนเอง แล้วต้องจ่ายภาษีให้รัฐ กับมีหน้าที่ต้องถูกเกณฑ์เป็นทหารประจำการ 2 ปี อย่างไรก็ตาม ปัญญาชนนักหนังสือพิมพ์ในสมัยรัชกาลที่ 5 คนหนึ่งคือ เทียนวรรณ ได้เขียนความเห็นและวิจารณ์สังคมและระบบการปกครองในสมัยนั้น ลงในหนังสือพิมพ์ ตุลวิภาคพจนกิจ และ ศิริพจนภาค ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์ของเขาเอง โดยเสนอให้มีการปกครองประเทศในระบบรัฐสภา ซึ่งรัชกาลที่ 5 ทรงไม่เห็นด้วย • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพและข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพและข้อความ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพและข้อความ • เมื่อคลิก NEXT ปรากฏสไลด์ถัดไป 1 2 1 3 1 2 2 3 3

  9. File :tu110_10_06.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา แนวคิดมนุษยนิยมในสยาม 1 • รัชกาลที่ 5 ทรงทำการปฏิรูปจักรีตามแนวทางการเมืองตามแบบตะวันตกแต่ทรงไม่เห็นด้วยกับการใช้ระบบรัฐสภา • เกิดเหตุการณ์กบฎ ร.ศ. 130 สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ร.ศ. 130 ถูกจับกุมได้ก่อนทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง แต่ส่งผลให้ • รัชกาลที่ 6 ทรงจัดตั้งกองเสือป่า และสร้างชาตินิยมไทยโดยให้ต่อต้านชาวจีนในไทย 1 2 2 รัชกาลที่ 5 กบฎ ร.ศ. 130 3 รัชกาลที่ 6 ทรงจัดตั้งกองเสือป่า 3 แม้รัชกาลที่ 5 ทรงทำการปฏิรูปจักรีตามแนวทางการเมืองตามแบบตะวันตก แต่ทรงไม่เห็นด้วยกับการใช้ระบบรัฐสภา ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เกิดเหตุการณ์กบฎ ร.ศ. 130 ของกลุ่มทหารหนุ่มที่มุ่งเปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช โดยมีการปฏิวัติซุนยัดเซนเป็นการปฏิวัติล้มราชวงศ์ชิง เกิดสาธารณรัฐจีน เป็นต้นแบบ แม้กบฎ ร.ศ. 130 ถูกจับกุมได้ก่อนทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง แต่ส่งผลให้รัชกาลที่ 6 ทรงจัดตั้งกองเสือป่า และสร้างชาตินิยมไทยโดยให้ต่อต้านชาวจีนในไทย • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพและข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพและข้อความ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพและข้อความ • เมื่อคลิก NEXT ปรากฏสไลด์ถัดไป 1 2 1 3 1 2 2 3 3

  10. File :tu110_10_07.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา แนวคิดมนุษยนิยมในสยาม หลังการทำสัญญาเบาว์ริง ก่อนทำสํญญาเบาว์ริง เศรษฐกิจการผลิตเพื่อการค้า เศรษฐกิจแบบยังชีพ เชื่อมโยงระบบเศรษฐกิจไทยเข้าเป็นส่วนหนึ่งของระบบเศรษฐกิจโลก สินค้าของป่าและเครื่องเทศหลากหลายชนิดสินค้า ปริมาณน้อยแต่มีราคาสูง 1 5 ไทยต้องเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขตด้านการศาลและการคลัง เซอร์จอห์นเบาว์ริง 2 6 9 3 รัชกาลที่ 4 4 7 8 ในด้านเศรษฐกิจนั้น ก่อนการทำสัญญาเบาว์ริง รัฐจารีตไทยมีระบบเศรษฐกิจแบบยังชีพ และแสวงหาความมั่งคั่งจากการค้าต่างประเทศโดยมาจากสินค้าของป่าและเครื่องเทศหลากหลายชนิดสินค้า ปริมาณน้อยแต่มีราคาสูง ภายหลังการทำสัญญาเบาว์ริงในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้ทำให้ไทยต้องเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขตด้านการศาลและการคลัง และเชื่อมโยงระบบเศรษฐกิจไทยเข้าเป็นส่วนหนึ่งของระบบเศรษฐกิจโลก • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • ให้แสดงภาพทั้งหมดขึ้นมาจากนั้น • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพและข้อความลำดับที่ กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพและข้อความ • กระพริบ • เมื่อคลิก NEXT ปรากฏสไลด์ถัดไป 1 2 1 1 2 3 4 2 5 6 7 8 9

  11. File :tu110_10_08.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา แนวคิดมนุษยนิยมในสยาม รัชกาลที่ 5 1 สงครามโลกครั้งที่ 2 สงครามโลกครั้งที่ 1 รายได้หลัก เศรษฐกิจแบบยังชีพ 7 4 7 7 5 คณะปฎิวัติ 2475 รายได้หลัก รัฐบาลไทยในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว แก้ปัญหาด้วยการดุลข้าราชการออก ตัดงบประมาณแผ่นดินลง ก่อให้เกิดความไม่พอใจทั่วไป ในที่สุดจึงเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศไปสู่ระบอบรัฐธรรมนูญในปี 2475 2 รัชกาลที่ 7 8 ระบอบรัฐธรรมนูญในปี 2475 6 ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 3 ได้แก่ สินค้าข้าว ไม้สัก ยางพารา และดีบุก รายได้หลักของประเทศไทยตั้งแต่รัชกาลที่ 5 จนถึงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มาจากการส่งออกสินค้าเกษตรน้อยชนิดแต่มีปริมาณมากแทน ได้แก่ สินค้าข้าว ไม้สัก ยางพารา และดีบุก ดังนั้นในช่วงภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 เมื่อเกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก จึงส่งผลกระทบถึงเศรษฐกิจประเทศไทยด้วย รัฐบาลไทยในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงแก้ปัญหาด้วยการดุลข้าราชการออก ตัดงบประมาณแผ่นดินลง ก่อให้เกิดความไม่พอใจทั่วไป ในที่สุดจึงเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศไปสู่ระบอบรัฐธรรมนูญในปี 2475 • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • แสดงภาพและข้อความทั้งหมดพร้อมกัน • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพและข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพและข้อความ • เมื่อคลิก NEXT ปรากฏสไลด์ถัดไป 1 2 1 1 2 3 4 5 2 6 7 8

  12. File :tu110_10_09.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา แนวคิดมนุษยนิยมในสยาม 1 2 4 • การอภิวัฒน์เป็นระบอบรัฐธรมนูญในวันที่ 24 มิถุนายน 2475 ของคณะราษฎร เกิดการเปลี่ยนแปลงดังนี้ • รัชกาลที่ 7 ทรงยอมรับเป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ • เกิดเหตุการณ์กบฎบวรเดช • รัชกาลที่ 7 สละราชสมบัติ • รัฐบาลไทยได้เจรจาแก้ไขยกเลิกสัญญาที่ไทยเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขตที่ทำไว้กับต่างประเทศได้ทั้งหมด 1 รัชกาลที่ 7 สละราชสมบัติ เมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ.2477 และเสด็จไปประทับที่ต่างประเทศ 2 รัชกาลที่ 7 ทรงยอมรับเป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ 3 4 3 เหตุการณ์กบฎบวรเดช 5 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธยในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 การอภิวัฒน์เป็นระบอบรัฐธรมนูญในวันที่ 24 มิถุนายน 2475 ของคณะราษฎรนั้น รัชกาลที่ 7 ทรงยอมรับเป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ แต่ต่อมาได้ก่อความขัดแย้งกับฝ่ายนิยมเจ้าจนเกิดเหตุการณ์กบฎบวรเดช และการสละราชสมบัติของรัชกาลที่ 7 ซึ่งเป็นช่วงระยะเวลาเดียวกับที่รัฐบาลไทยได้เจรจาแก้ไขยกเลิกสัญญาที่ไทยเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขตที่ทำไว้กับต่างประเทศได้ทั้งหมด • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพ และข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพ และข้อความ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพและข้อความ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ข้อความ • เมื่อคลิก NEXT ปรากฏสไลด์ถัดไป 1 2 3 4 1 1 2 1 2 5 3 4 3 4 4

  13. File :tu110_10_10.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา แนวคิดมนุษยนิยมในสยาม 1 2 จอมพล ป. พิบูลสงคราม ตรวจแถวก่อนทหารก่อนทำสงครามชิงดินแดนอินโดจีนคืนจากฝรั่งเศส • รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม นำประเทศไทยเข้าสู่การทำสงครามชิงดินแดนอินโดจีนคืนจากฝรั่งเศส • ประกาศสงครามโลกกับฝ่ายสัมพันธมิตรภายหลังกรณีที่กองทัพญี่ปุ่นขอเดินทัพผ่านประเทศไทย ประเทศไทยลงนามสัญญาพันธมิตรกับญี่ปุ่น (เกิดสงครามมหาเอเชียบูรพา) 1 เครื่องบินที่ใช้ในสงครามอินโดจีน 3 2 4 กองทัพญี่ปุ่นขอเดินทัพผ่านประเทศไทย เมื่อประเทศไทยมีฐานะเสมอภาคกับนานาประเทศในขณะนั้น รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้นำประเทศไทยเข้าสู่การทำสงครามชิงดินแดนอินโดจีนคืนจากฝรั่งเศส และประกาศสงครามโลกกับฝ่ายสัมพันธมิตรภายหลังกรณีที่กองทัพญี่ปุ่นขอเดินทัพผ่านประเทศไทย • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพ และข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพ และข้อความ • เมื่อคลิก NEXT ปรากฏสไลด์ถัดไป 1 2 1 1 2 1 2 3 4 2

  14. File :tu110_10_11.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา แนวคิดมนุษยนิยมในสยาม การเปลี่ยนแปลงประเทศไทยตามแนวทางตะวันตก 1 2 ระบบสังคมชนชั้น ระบอบการปกครอง แบบสมบูรณาญาสิทธิราชปี 2475 ทางสังคม รัฐจารีต ยกเลิกระบบไพร่ทาส แบบส่งออกต่างประเทศ แบบยังชีพ ทางเศรษฐกิจ ก่อนการปฏิรูปจักรี กบฎ ร.ศ. 130 3 10 10 10 9 4 ระบอบรัฐธรรมนูญ (รัฐสมัยใหม่) 6 5 7 8 สรุปได้ว่าการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยตามแนวทางตะวันตกนับแต่ก่อนการปฏิรูปจักรีได้เปลี่ยนรัฐจารีตเป็นรัฐสมัยใหม่ และเปลี่ยนระบอบการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชเป็น ระบอบรัฐธรรมนูญ เริ่มจากการก่อกบฎ ร.ศ. 130 แล้วสำเร็จในการอภิวัฒน์ปี 2475 ในทางสังคมได้เปลี่ยนจากระบบสังคมชนชั้น ยกเลิกระบบไพร่ทาส กลายเป็นราษฎรไทย สำหรับในทางเศรษฐกิจได้เปลี่ยนจากระบบเศรษฐกิจแบบยังชีพ ไปเป็นเศรษฐกิจแบบส่งออกต่างประเทศ ทำให้เมื่อเกิดเศรษฐกิจตกต่ำภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 จึงส่งผลกระทบกับเศรษฐกิจไทยตามไปด้วย และเป็นสาเหตุส่วนหนึ่งของการอภิวัฒน์ปี 2475 ทั้งหมดที่ได้ศึกษามาทำให้ทราบแล้วว่าการปฏิรูปจักรี กบฏ รศ.130 และ ปฏิวัติ 2475 ทำให้ประเทศเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง สำหรับคราวนี้คงมีเพียงเท่านี้ไว้พบกันคราวหน้านะครับ สวัสดี • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงกล่องข้อความทั้งหมด • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงกล่องข้อความลำดับที่ • กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงกล่องข้อความลำดับที่กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงกล่องข้อความลำดับที่กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงกล่องข้อความลำดับที่กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงกล่องข้อความลำดับที่ • กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงกล่องข้อความลำดับที่ • กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงกล่องข้อความลำดับที่ • กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงกล่องข้อความลำดับที่ • กระพริบ 1 2 3 1 4 5 2 6 7 3 8 3 9 9 4 5 4 6 5 7 7 8 6 9 8

More Related