1.21k likes | 2.58k Views
สมุนไพรในครัวเรือน. วิทยาลัยการแพทย์แผนไทย. กระเพรา ชื่อวิทย์ Ocimum sanctum, Linn . ชื่อวงศ์ Fam . : MALVACEAE. สรรพคุณ ใบ ใบสดของมัน มีน้ำมันหอมระเหยอยู่ เป็นยาแก้ขับลม ท้องอืด ท้องเฟ้อ ปวดท้อง บำรุงธาตุ ขับผายลม แก้อาการจุกเสียดในท้อง
E N D
สมุนไพรในครัวเรือน วิทยาลัยการแพทย์แผนไทย
กระเพราชื่อวิทย์Ocimum sanctum, Linn. ชื่อวงศ์ Fam. : MALVACEAE สรรพคุณ ใบ ใบสดของมัน มีน้ำมันหอมระเหยอยู่ เป็นยาแก้ขับลม ท้องอืด ท้องเฟ้อ ปวดท้อง บำรุงธาตุ ขับผายลม แก้อาการจุกเสียดในท้อง ให้ใช้ใบสด หรือยอดอ่อน สัก 1 กำมือ มาต้ม ให้เดือด แล้วกรองเอาน้ำดื่ม แต่ถ้าใช้กับเด็ก ทารกให้นำเอามาตำให้ละเอียดคั้นเอาน้ำนำมา ผสมกับน้ำยามหาหิงคุ์แล้วใช้ทาบริเวณ รอบ ๆสะดือ และทาที่ฝ่าเท้า แก้อาการปวดท้องของ เด็กได้ และน้ำที่เราเอามาคั้นออกจากใบยังใช้ ขับเสมหะ ขับเหงื่อ
ใช้ทาภายนอกแก้โรค ผิวหนัง กลาก เกลื้อนได้ ใบสดยังนำมาผัด หรือนำมาแกงเป็นอาหาร ได้อีกด้วย สำหรับใบแห้ง ใช้ชงกินกับน้ำ แก้ท้องขึ้น และน้ำมันที่ได้จากใบกะเพรานั้น สามารถยับยั้งการเจริญเติมโตของเชื้อโรคบางชนิด ช่วยฆ่าเชื้อจุลินทรีย์บางอย่าง และมีฤทธิ์ฆ่ายุงได้ ซึ่งจะมีฤทธิ์ได้นาน 2 ชั่วโมง
กานพลูชื่อวิทย์Eugenia caryophyllus Bullock & Harrisonชื่อวงศ์Fam. : MYRTACEAE ดอกเมื่อตากแห้งแล้วเป็นสีแดงน้ำ ตาล นำมากลั่นใช้ 0.12 - 0.3 กรัมหรือ 2 - 5 กรัม จะเป็นยาแก้ท้องขึ้นธาตุพิการขับผายลมในลำไส้ เป็นยาบำรุงและน้ำมันจาก กานพลู ซึ่งกลั่นออกมา ใช้เป็นยาแก้ปวดท้องขับผายลม และใช้สำลีชุบนำมา อุดฟันที่ปวด
ข่าชื่อวิทย์Alpinia nigra(Gaertn.) B.L.Burttชื่อวงศ์Fam. : ZINGIBERACEAE ส่วนที่ใช้เหง้าอ่อนและแก่ สรรพคุณ เหง้าเหง้าแก่นำมาตำให้ละเอียด ใช้ทาบริเวณที่เป็นโรคผิวหนัง กลากเกลื้อน ใช้เป็นยารักษาภายนอก หรือจะตำใช้ทำกระ สายเป็นเหล้าโรง ทารักษาอาการคันในโรค ลมพิษ ทาบ่อย ๆ จนกว่าลมพิษนั้นจะหายไป
ขมิ้นชื่อวิทย์urcuma Longa Linn. ชื่อวงศ์Fam. : ZINGIBERACEAE ส่วนที่ใช้เหง้าที่แก้จัดใช้ทั้งสดและแห้ง เหง้าแห้งนิยมป่นเป็นผง สรรพคุณ ใช้ขับลม แก้ท้องอืดเฟ้อ ใช้เป็นเครื่องเทศ รักษาแผลในลำไส้ เจริญอาหาร คลายกล้ามเนื้อเรียบในลำไส้ที่เกร็งตัวบรรเทาอาการวิงเวียน ระงับเชื้อ ขับปัสสาวะ ลดไข้ ขับพยาธิ ใช้ภายนอก รักษากลาก เกลื้อน แก้ผื่นคัน หรือโรคผิวหนังอื่น ๆ
ตำลึงCoccinia grandis (l.) Voigt.Fam. :CUCURBITACEAE ส่วนที่ใช้ใบรากและเถา ใบถ้านำใบสดมาจะถอนพิษหมามุ้ยแก้เจ็บ ตาตาฝ้าตาแดงตาแฉะ ใช้เป็นยาเย็นดับ พิษร้อนก็ได้ ทั้งต้น(เถารากใบ) นำมาเป็นยาใช้รักษา แก้โคผิวหนังโรคเบาหวาน แก้หลอดลมอักเสบและลดระดับน้ำตาลในเลือด
พริกไทย Piper nigrum Linn.Fam. :PIPERACEAE เมล็ดรสเผ็ดร้อน แก้ลมอัมพฤกษ์ แก้ลมลั่นในท้อง บำรุงธาตุ แก้ท้องอืดเฟ้อ
มะขามป้อม Phyllanthus emblica Linn.Fam. :EUPHORBIACEAE ผลลูกอ่อนบำรุงเนื้อหนังให้บริบูรณ์ กัดเสมหะในคอและให้เสียงเพราะ ลูกแก่ แก้ไข้เจือลม แก้ไอ แก้เสมหะ ทำให้ชุ่มคอ ขับปัสสาวะ ระบายท้อง บำรุงหัวใจ ฟอกโลหิต แก้ลม และแก้โรคลักปิดลักเปิด
มะพร้าว Cocos nucifera Linn.Fam. :PALMAE เนื้อขับปัสสาวะ ขับพยาธิ แก้ไข้ แก้กระหายน้ำ เป็นยาระบาย แก้ท้องเสีย แก้พิษ แก้กระหายน้ำ แก้นิ่ว แก้อาเจียนเป็นโลหิต และบวมน้ำ น้ำมันบำรุงกำลัง แก้กลากเกลื้อน แก้โรคผิวหนัง แผลน้ำร้อนลวก น้ำ
แมงลัก Ocimum canum Linn.Fam. :LABIATAE ใบตำให้ละเอียดคั้นเอาน้ำดื่ม เป็นยาแก้หวัด แก้หลอดลมอักเสบ และแก้โรคทางเดินท้องร่วง หรือใช้กากใบที่ตำทาแก้โรคผิวหนังทุกชนิด
สับปะรด Ananas ccmosus (Linn.) Merr.Fam. :BROMELIACEAE ผลแก้ไอแก้เสมหะ ระงับอาการอักเสบ น้ำลายเหนียว ขับปัสสาวะฟอกเลือด แก้บวม และถ้าเป็นผลดิบจะใช้ห้ามเลือด ขับระดูฆ่าพยาธิและถ้าผลสุกใช้ขับปัสสาวะ ช่วยย่อยอาหารขับเหงื่อบำรุง
กรเจี๊ยบแดงชื่อวิทย์Hibiscus sabdariffa Linn.ชื่อวงศ์ Fam. : MALVACEAE กลีบเลี้ยงทำให้สดชื่นขับปัสสาวะ ขับน้ำดีลดไข้แก้ไอแก้นิ่วแก้กระหายน้ำ วิธีใช้ โดยใช้ชงน้ำร้อนหรือต้มน้ำกินใช้ที่ตากแห้งแล้วประมาณ 5 - 10กรัม
กระเทียมชื่อวิทย์llium sativum Linn.ชื่อวงศ์Fam. : ALLIACEAE กระเทียมมีรสร้อนสามารถ ลดปริมาณโคเลสเตอรอลในเลือดได้ ทำให้ลด การอุดตันของเส้นเลือด
ขิงชื่อวิทย์Zingiber officinals Roscoe. ชื่อวงศ์Fam. : ZINGIBERACEAE เหง้า ขับปัสสาวะขับลมรักษาอาการท้องอืดแน่น
ตะไคร้ Cymbopogon citratus(DC.ex Nees) Stapf.Fam : GRAMINAE ต้น ใช้เป็นยาแก้ขับลมแก้เบื่ออาหาร แก้โรคทางเดินปัสสาวะ นิ่วเป็นยาบำรุงไฟธาตุให้เจริญ
บัวบก Centella asiatica Urban.Fam. : UMBELLIFERAE ทั้งต้นใช้รักษาอาการช้ำในเป็นยาบำรุง หัวใจและบำรุงกำลัง รักษาอาการอ่อนเพลีย เมื่อยล้าขับปัสสาวะ
พลู Piper betle Linn.Fam. : PIPERACEAE ใบขับลมในลำไส้ แก้ท้องอืด แก้ปวดท้อง แก้ท้องเสีย กระตุ้นให้กระปรี้กระเปร่า ใช้ภายนอก แก้ปวด บวกฟกช้ำ
ฟักทอง Cucurbita maxima Duchesne.Fam. : CUCURBITACEAE เนื้อในของผลฝักทองนั้นจะมีสาร พวก carotenes อยู่ ซึ่งสารนี้เมื่อเข้าไปใน ร่างกายแล้วจะเปลี่ยนเป็นวิตามินเอ ไม่ว่า จะอยู่ในรูปของคาวหรือของหวาน เป็นอาหาร เสริมสุขภาพได้เป็นอย่างดี
มะขาม Tamarindus indica Linn.Fam. : CAESALPINIACEAE ใบขับเสมหะ ฟอกโลหิต ขับเลือดและลมในลำไส้ แก้บิด แก้ไอ เนื้อในฝักกัดเสมหะ แก้ท้องผูกและแก้กระหายน้ำ
มะระขี้นก Momordica charantia Linn.Fam. : CUCURBITACEAE ใบและผลใช้ใบและผลสด นำมาตำให้ ละเอียดแล้ว คั้นเอาน้ำกิน เป็นยาแก้จุกเสียด แน่นท้องขับลมบำรุงธาตุขับลม และเป็น ยาช่วยถ่ายพยาธิ
ยอ Morinda citrifolia Linn.Fam. :RUBIACEAE ใบกินแก้กษัย คั้นเอาน้ำสระผมแก้เหา ทาแก้โรคเก๊าท์ และปวดตามข้อของนิ้วมือนิ้ว ผลรสเผ็ดร้อน ช่วยขับลม บำรุงธาตุ เจริญอาหาร ผสมยาแก้สะอึก อมแก้เหงือกเปื่อย ระดูเสีย ฟอกเลือด ขับน้ำคาวปลา แก้เสียงแหบแห้ง แก้ตัวเย็น แก้ร้อนในอก แก้อาเจียน และนำมาหมกหรือต้มกินน้ำรับประทานก็ได้
สะเดา Azadirachta indica A. Juss. var. siamensis Valeton.Fam. : MELIACEAE ใบ ใบอ่อน แก้โรคผิวหนัง แก้น้ำเหลืองเสีย และแก้พุพอง ใบแก่ ช่วยย่อยอาหาร ฆ่าแมลงศัตรูพืช ก้าน
กระชายชื่อวิทย์Boesecnergia pandurata (Roxb.)Schltr.ชื่อวงศ์Fam. : ZINGIBERACEAE เป็นยาบำรุงหัวใจบำรุงกำลังแก้ใจสั่นหวิว ขับปัสสาวะพิการ แก้บิดมูก เลือดแก้ปวดมวนในท้อง ท้องเดินให้ใช้หัว หรือเหง้า ปิ้งไฟให้สุกกินกับน้ำปูนใส
กระวาน ชื่อวิทย์momun krevanh Pierreชื่อวงศ์Fam. : ZINGIBERACEAE ผล (เมล็ด)ในเมล็ดจะมีน้ำมันหอมระเหย ประมาณ 3 - 6 % ใช้เป็นยาบำรุงธาตุกระจายโลหิต กระจายเสมหะขับลมผายขับลมและใช้ปรุงแต่งกลิ่นอาหาร
ขี้เหล็กชื่อวิทย์assia siamea Britt. ชื่อวงศ์Fam. : CAESALPINIACEAE ใบอ่อน ฝักภายในจะมียาฝาดสมาน(Tannin) ใช้รักษาโรคท้องร่วงและยังมีสารพวกอัลคอลอลอยด์ ที่ช่วยระบายอ่อน ๆดังนั้นเราจึงใช้ฝักขี้เหล็ก ผสมในยาระบายดี เพราะช่วยระบายรู้จักปิดดอกในดอกมีสารอัลคลอลอย์มีคุณสมบัติ ช่วยเป็นยาระบายในตัว
มะนาว Citrus aurantifolia Swing.Fam. :RUTACEAE คั้นเอาน้ำกินเป็นยาแก้กระหายน้ำ แก้ร้อนใน บำรุงธาตุ เจริญอาหาร แก้เลือดออกตามไรฟันและถ่ายพยาธิ หรือใช้ผลดองเกลือ จนเป็นสีน้ำตาล ใช้เป็นยาขับเสมหะ และทำให้ชุ่มคอ
ดีปลี Piper chaba HuntFam. :PIPERACEAE ดอกดอกดีปลีมีรสเผ็ดร้อนและขม นำมา ปรุงเป็นยาธาตุแก้ตับพิการ แก้ท้องร่วง ขับลม
ไฟโตเอสโตรเจน คืออะไร • ไฟโตเอสโตรเจน คือ ส่วนประกอบตามธรรมชาติที่พบได้ในพืช แต่มีคุณสมบัติคล้ายกับฮอร์โมนเพศหญิง ที่เรียกว่า เอสโตรเจน(Estrogen) และจากที่ไฟโตเอสโตรเจนในธรรมชาติเป็นส่วนประกอบอยู่ในอาหารที่มนุษย์เรารับประทานเข้าไปตามปกติ
แหล่งของไฟโตเอสโตรเจนในอาหาร ไฟโตเอสโตรเจน มี 3 ชนิดหลัก • ไอโซฟลาโวน – พบมากในไม้จำพวกที่มีฝัก ถั่ว (ถั่ว ชนิดเมล็ดแบน เช่น ถั่วเหลือง ถั่วเล็กรูปกลมคล้ายไต ถั่วแขกชนิดเมล็ดแดง และเหลือง ) และในผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลือง (รวมทั้งนม เต้าหู้) • ลิกแนน - พบในผลไม้ ผัก ถั่ว และ เมล็ดข้าว แต่พบมากที่สุดใน oilseeds โดยเฉพาะอย่างยิ่ง linseed (เมล็ดต้นFlax ที่ปอใช้ทำผ้าลินิน). • คิวเมสแทน- พบได้ในอาหารจำพวกเดียวกับลิกแนน แต่พบมากที่สุดในเมล็ดอ่อน (sprouting seeds) ถั่วเหลือง และผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลือง พบว่าเป็นแหล่งที่อุดมสมบูรณ์ที่สุดของไฟโตเอสโตรเจน
ปริมาณที่ควรได้รับ ปริมาณไฟโตรเอสโตรเจนที่ควรได้รับจากอาหาร คือ 30 – 50 มิลลิกรัม - นมถั่วเหลือง 250 ซีซี – 15-60 มิลลิกรัม - เต้าหู้ 1 ก้อน (115 กรัม) – 13-43 มิลลิกรัม - โยเกิรต์เต้าหู้ (200 กรัม) – 26 มิลลิกรัม
ถั่วเหลือง คุณค่า มีโปรตีน เลซิทิน และกรดแอมิโน รวมทั้งมีแคลเซียม ฟอสฟอรัส ธาตุเหล็ก ไนอะซิน วิตามินบี1 และบี2 วิตามินเอและอี ซึ่งสามารถกระตุ้นการเจริญเติบโตของกระดูก ป้องกันการขาดแคลเซียมในกระดูก และบำรุงระบบประสาทในสมอง
ถั่วเขียว เป็นพืชตระกูลถั่ว ที่ให้เมล็ดที่มีเปลือกสีเขียว แต่ เนื้อเมล็ดสีเหลือง คุณค่า ช่วยกระตุ้นประสาท เจริญอาหาร มีแคลเซียมฟอสฟอรัสเหล็ก และแคโรทีน
ถั่วลิสง ( peanut) คุณค่า มีน้ำมันถั่ว โปรตีน วิตามิน ชะลอความเสื่อมสภาพของร่างกาย บำรุงสมอง เสริมความจำ