30 likes | 145 Views
อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม อุตสาหกรรมยางและพลาสติก อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้. อุตสาหกรรม เป้าหมาย. การสร้างโอกาสทางอาชีพใน จังหวัดสงขลา สตูล จากการจัดอาชีวศึกษา. สถานประกอบการ. นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ. ผู้ใช้. เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น.
E N D
อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม อุตสาหกรรมยางและพลาสติก อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ อุตสาหกรรม เป้าหมาย การสร้างโอกาสทางอาชีพใน จังหวัดสงขลา สตูลจากการจัดอาชีวศึกษา สถานประกอบการ นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ ผู้ใช้ เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ผู้ซ่อม การแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาคน สังคม และชุมชนที่มีคุณภาพ ศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการ ศูนย์วิทยุชุมชน อาชีวะแก้ปัญหาความยากจน ต่อยอดองค์ความรู้ และเพิ่มมูลค่าสินค้าชุมชน สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และนวัตกรรมตามความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น Fix It Center อาชีวะร่วมด้วยช่วยประชาชน ถนนอาชีพ และ ๑๐๘ อาชีพ ฯลฯ ผู้สร้าง อาชีพอิสระ สนองความต้องการ ชุมชนท้องถิ่น (ช่างชุมชน) • ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา งานหาคน คนหางาน • เรียนเป็นเรื่อง เป็นชิ้นงาน เป็นโครงการ • เทียบโอนประสบการณ์ ต่อยอดความรู้ • เรียนไปด้วย ทำงานไปด้วย มีรายได้ระหว่างเรียน • คุณวุฒิวิชาชีพให้ความสำคัญกับประสบการณ์และทักษะ การบริหารจัดการกำลังคน • เครือข่ายชุมชน (อบจ. อบต.) และเครือข่ายสถานประกอบการ สร้างและพัฒนา ความเป็นผู้ประกอบการ ให้ความรู้ด้านการทำธุรกิจ แก่ผู้ผลิต พัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
จังหวัดสงขลา สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 524 แห่ง (สปช. 479 แห่ง และ สศ. 45 แห่ง) สังกัด เอกชน 271 แห่ง สังกัด กศน. 16 แห่ง สังกัด สกอ. 6 แห่ง (สาธิต 1 แห่ง) สังกัด สอศ. 9 แห่ง 1. วท.หาดใหญ่ 2. วท.จะนะ 3. วอศ.สงขลา 4. วษท.สงขลา 5. วป.ติณสูลานนท์ 6. วช.สงขลา 7. วก.หลวงประธานราษฎร์นิกร 8. วก.นาทวี 9. วก.สมเด็จเจ้าพะโคะ • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • เป็นที่ตั้งของนิคมอุตสาหกรรมภาคใต้จังหวัดสงขลา • ทิศใต้มีเขตติดต่อกับรัฐเคดาห์และรัฐเปอร์ลิส • ประเทศมาเลเซีย • ทิศตะวันอก คิดค่อกับทะเลอ่าวไทย • เป็นที่ตั้งของด่านชายแดน อ.สะเดา • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 103,785 บาท ต่อปี (อันดับ 2 • ของภาค อันดับ 15 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากสาขาการผลิต • อุตสาหกรรม มีมูลค่าการผลิต 30.53% รองลงมา • ภาคเกษตร 25.45% • พืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัด • ยางพารา ข้าวนาปีและนาปรัง • ประชากร • จำนวนประชากร 1,302,421 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 106,651 คน หรือ 12.71% • จำนวนผู้ว่างงาน 9,447คน เป็นชาย 3,900คน เป็นหญิง 5,547 คน อัตราการว่างงาน 0.7% • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด 254,984 คน 34.62% รองลงมาพนักงานบริการ พนักงานในร้านค้าและตลาด 142,963 คน หรือ 19.41% และอาชีพขั้นพื้นฐานต่าง ๆ ในด้านการขายและการให้บริการ 77,354 คน หรือ 10.50 % • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) ผลิตภัณฑ์จากผ้าทอเกาะยอ 2) การเลี้ยงกุ้งขาวในบ่อ • 3) การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากต้นตาลโตนด 4) ผลิตภัณฑ์จากยางพารา • 5) เคลือบรูปวิทยาศาสตร์ 6) แซนวิชม้วน 7) งานประดิษฐ์จากคริสตรัล • 8) การทำขนมพื้นบ้าน 9) กลุ่มน้ำยางข้น 10) การแปรรูปสัตว์น้ำ (ที่มา อศจ.สงขลา) • ประชากรอายุ 15ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 271,566 คน หรือ 36.87% ลำดับรองลงมาทำงานส่วนตัว 224,877 คน หรือ 30.53% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 25,160 คน หรือ 3.42 % ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น -ต่ำกว่าประถมศึกษา465,227 คน หรือ 63.17 % • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 24,230 คน หรือ 3.29 % สาเหตุจากศึกษา • ต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 184 แห่ง มีการจ้างงาน 27,554 คน รองลงมา อุตสาหกรรมยางและพลาสติก • มีสถานประกอบการ 221 แห่ง มีการจ้างงาน 21,282 คน ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
จังหวัดสตูล สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 178 แห่ง (สปช. 165 แห่ง และ สศ. 13 แห่ง) สังกัด เอกชน 22 แห่ง สังกัด กศน. 7 แห่ง สังกัด สกอ. - แห่ง สังกัด สอศ. 3 แห่ง 1.วท.สตูล 2. วษท.สตูล 3.วก.ละงู • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศใต้และทิศตะวันออก มีเขตติกต่อกับรัฐเปอร์ลิส • และรัฐเคดาห์ ประเทศมาเลเซีย • ทิศตะวันตก ติดกับ ทะเลอันดามัน • เป็นที่ตั้งของด่านชายแดน คือ ด่านวังประจันและ • ด่านสตูล (ท่าเรือ) • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 76,823 บาท ต่อปี (อันดับ 6 • ของภาค อันดับ 23 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร • มีมูลค่าการผลิต 45.25 % รองลงมาการผลิต • อุตสาหกรรม 13.47 % และสาขาการขายส่ง • การขายปลีก 13.40 % • พืชเศรษฐกิจของจังหวัด • ยางพารา ปาล์มน้ำมัน ข้าวนาปี • ประชากร • จำนวนประชากร 277,865 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 25,855 คน หรือ 14.58% • จำนวนผู้ว่างงาน 2,441คน เป็นชาย 1,423คน เป็นหญิง 1,018คน อัตราการว่างงาน 0.9% • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด 85,130 คน หรือ 57.16% พนักงานบริการ พนักงานในร้านค้าและตลาด 18,849 คน หรือ 12.66 % • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) การปลูกยางพารา 2) การปลูกปาล์มน้ำมัน 3) การประมงชายฝั่ง • 4) การเพาะเลี้ยงกุ้ง 5) อู่ซ่อมเรือ 6) อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว • 7) ธุรกิจขนาดย่อมในครัวเรือน 8) อุตสาหกรรมแปรรูปอาหารทะเล • 9) การเลี้ยงสัตว์ 10) การเพาะปลูกผักผลไม้ (ที่มา อศจ.สตูล) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 53,916 คน หรือ 36.20% ลำดับรองลงมาทำงานส่วนตัว 52,773 คน หรือ 35.43% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 13,327 คน หรือ 6.44% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 149,940 คน หรือ 72.47% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 5,415 คน หรือ 2.62% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 21แห่ง มีการจ้างงาน 1,627 คน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ