330 likes | 1.3k Views
Chapter 5. Analysis: Context Diagram & Data Flow Diagram. Aj. Khuanlux Mitsophonsiri CS.324 & CS.313 System Analysis and Design . แผนภาพบริบท (Context Diagram). แผนภาพบริบท (Context Diagram) คือ แผนภาพกระแสข้อมูลระดับบนสุดที่แสดง
E N D
Chapter 5 Analysis: Context Diagram & Data Flow Diagram Aj. Khuanlux Mitsophonsiri CS.324 & CS.313 System Analysis and Design
แผนภาพบริบท (Context Diagram) แผนภาพบริบท (Context Diagram)คือ แผนภาพกระแสข้อมูลระดับบนสุดที่แสดง ภาพรวมการทำงานของระบบที่มีความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมภายนอกระบบ ทั้งยังแสดง ให้เห็นขอบเขต และเส้นแบ่งเขตของระบบที่ศึกษาและพัฒนา เป็นการออกแบบในระดับหลักการ เป็นแผนภาพหรือไดอะแกรม (Diagram) ที่แสดง เพียงหนึ่งกระบวนการ คือ ชื่อระบบงาน ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับระบบ ซึ่งประกอบไปด้วย - แหล่งกำเนิดข้อมูล (Source) - กระแสข้อมูล (Data Flow) - การประมวลผล (Process) ซึ่งจะไม่มีแหล่งจัดเก็บข้อมูล(Data Store) โดย Context Diagram จะแสดงผู้เกี่ยวข้องกับระบบ หลักๆ เท่านั้น เป็นการยืนยันกับผู้ใช้ระบบว่าสิ่งที่ศึกษามานั้นเป็นการเข้าใจที่ถูกต้อง
Context Diagram ของระบบลงทะเบียนนักศึกษา
Context Diagram (ระบบลงทะเบียน) • Context Diagram คือ การออกแบบในระดับหลักการ เป็นแผนภาพหรือไดอะแกรม (Diagram) ที่แสดงเพียงกระบวนการ คือชื่อระบบงาน และ Boundaries ที่เกี่ยวข้องโดยตรง กับระบบ ซึ่งจะไม่มี Data store โดย Context Diagram จะแสดงผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบ หลักๆ เท่านั้น 4
หลักการเขียน DFD Level-1 DFD Level-1 DFD Level-2 Context 1 1.1 ตรวจสอบรหัส 1.2 บันทึกข้อมูล 1.3 …….. จัดการข้อมูล 0 2 2.1 …….. 2.2 …….. 2.3 …….. ระบบลงทะเบียน นักศึกษา ลงทะเบียน 3 3.1 …….. 3.2 …….. 3.3 …….. ประเมินผล Decompose DFD Functional Decompose DFD Fragment 5 5
แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 1(Data Flow Diagram Level-1) นำ Context Diagram มาแตกรายละเอียด (Exploded) โดยจะแสดงถึง Process หลักๆ และผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบ รวมทั้งขอมูลที่เป็น Primary Data การเขียนแผนภาพควรเขียนให้ดูง่าย และแสดงอยู่ในกระดาษแผ่นเดียว (A4) ลูกศรไม่ควรทับซ้อน หรือข้ามกัน โดยสามารถทำการซ้ำ Source และ Data store เท่าที่ จำเป็นเท่านั้น เพื่อให้ดูสวยงาม ไม่สับสน จากระบบทะเบียนนักศึกษาสามารถทำการ วิเคราะห์เพื่อหารายละเอียดของ Boundaries, Data และ Process(Page 7.) -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- แผนภาพกระแสข้อมูลในระดับที่ 1 จะเป็นที่รวมของโปรเซสหลักและข้อมูลหลัก ดังนั้น เมื่อทำการกำหนดกระบวนการ (List of Process) ที่เกี่ยวข้องในระบบแล้ว ควรทำการรวม โปรเซส (Group of Process) เข้าด้วยกัน เพื่อสะดวกต่อการจัดการแผนภาพกระแสข้อมูล ในระดับย่อยๆ ต่อไป โดยอาจทำในรูปแบบของ Process Hierarchy Chart ก่อน (Page 8.) 6
จากระบบทะเบียนนักศึกษาสามารถทำการวิเคราะห์เพื่อหารายละเอียดของ Boundaries, Data และ Process • List of Boundaries • นักศึกษา • อาจารย์ • แผนกทะเบียนและวัดผล • คณบดี • List of Data • ข้อมูลประวัตินักศึกษา • ข้อมูลการลงทะเบียน • ข้อมูลรายวิชา • ข้อมูลอาจารย์ผู้สอน • ข้อมูลวิชาสอน • ข้อมูลคณะ • ข้อมูลสาขาวิชา • List of Process • ปรับปรุงข้อมูลนักศึกษา • ปรับปรุงข้อมูลอาจารย์ • ปรับปรุงแฟ้มวิชาผู้สอน • ปรับปรุงแฟ้มรายวิชา • ปรับปรุงแฟ้มคณะ • ปรับปรุงแฟ้มสาขา • ลงทะเบียนเรียน • ลงทะเบียนเพิ่ม • เพิกถอนรายวิชา • บันทึกคะแนน • ประเมินผล • ปิด/เปิดภาคการศึกษา 7
จาก Process Hierarchy Chart ทำให้ทราบถึง Process หลักในระบบ ซึ่งประกอบด้วย Process หลัก 5 Process ด้วยกัน คือ - Processที่1 จัดการข้อมูล - Processที่ 2 ลงทะเบียน - Processที่3 ประเมินผล - Processที่4 พิมพ์รายงาน - Processที่5 ปิด/เปิดภาคการศึกษา 9
แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 1 (Data Flow Diagram Level-1) 10
x 11
แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2(Data Flow Diagram Level-2) แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 (Data Flow Diagram Level-2) แสดงถึง Process ย่อย ในกระแสข้อมูลระดับที่ 1 โดยแผนภาพกระแสข้อมูลในระดับที่ 2 ของ Process ที่ 1 ประกอบด้วย Process ย่อยๆ ใช้เลขทศนิยมเพื่อระบุความสัมพันธ์ระหว่าง Processคือ - Processที่1.1 ปรับปรุงแฟ้มนักศึกษา - Processที่1.2 ปรับปรุงแฟ้มอาจารย์ - Processที่1.3 ปรับปรุงแฟ้มรายวิชา - Processที่1.4 ปรับปรุงแฟ้มวิชาสอน - Processที่1.5 ปรับปรุงแฟ้มคณะ 12
แผนภาพกระแสข้อมูลในระดับที่ 2 ของ Process ที่ 1 (Data Flow Diagram Level-2 Process 1) 13
แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2(Data Flow Diagram Level-2) แผนภาพกระแสข้อมูลในระดับที่ 2 ของ Process ที่ 2 ประกอบด้วย Process คือ - Process ที่ 2.1 ลงทะเบียน - Process ที่ 2.2 เพิ่ม/เพิกถอน 14
แผนภาพกระแสข้อมูลในระดับที่ 2 ของ Process ที่ 2(Data Flow Diagram Level-2 Process 2) 15
แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2(Data Flow Diagram Level-3) แผนภาพกระแสข้อมูลในระดับที่ 2 ของ Process ที่ 3 ประกอบด้วย Process คือ - Process ที่ 3.1 บันทึกคะแนน - Process ที่ 3.2 ประเมินผลการเรียน 16
แผนภาพกระแสข้อมูลในระดับที่ 2 ของ Process ที่ 3(Data Flow Diagram Level-2 Process 3) 17
แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2(Data Flow Diagram Level-2) แผนภาพกระแสข้อมูลในระดับที่ 2 ของ Process ที่ 4 ประกอบด้วย Process คือ - Process ที่ 4.1 พิมพ์รายงานลงทะเบียนแต่ละรายวิชา - Process ที่ 4.2 พิมพ์ใบเช็คชื่อ - Process ที่ 4.3 พิมพ์รายงานประเมินผล - Process ที่ 4.4 พิมพ์รายงานสรุปยอดผู้สอบตกรายวิชา 18
แผนภาพกระแสข้อมูลในระดับที่ 2 ของ Process ที่ 4(Data Flow Diagram Level-2 Process 4) 19
แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2(Data Flow Diagram Level-2) แผนภาพกระแสข้อมูลในระดับที่ 2 ของ Process ที่ 5 ประกอบด้วย Process คือ - Process ที่ 5.1 ปิดภาคการศึกษา - Process ที่ 5.2 เปิดภาคการศึกษาใหม่ 20
แผนภาพกระแสข้อมูลในระดับที่ 2 ของ Process ที่ 5(Data Flow Diagram Level-2 Process 5) 21
แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 3(Data Flow Diagram Level-3) แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 3 (Data Flow Diagram Level-3) เป็นแผนภาพกระแสข้อมูลที่แตกย่อยจากแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 โดยในที่นี้จะมีแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 3 ของ Process ที่ 2.2ประกอบด้วย Processย่อยๆ 2 Processคือ - Process ที่ 2.2.1 เพิ่มวิชา - Process ที่ 2.2.2 เพิกถอนวิชา 22
แผนภาพกระแสข้อมูลในระดับที่ 3ของ Process ที่ 2(Data Flow Diagram Level-3 Process 2) 23
สรุป จากแผนภาพกระแสข้อมูลในระดับต่างๆ จะเห็นได้ว่าแผนภาพกระแสข้อมูลเป็นเพียง แผนภาพที่แสดงขั้นตอนของการปฎิบัติงานในรูปแบบเชิงตรรก (Logical Model)ซึ่งไม่ ขึ้นกับฮาร์ดแวร์หรืออุปกรณ์ทางด้านคอมพิวเตอร์ และส่วนโปรแกรม รวมทั้งโครงสร้างของ ข้อมูล