220 likes | 383 Views
คู่มือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ฉบับบูรณาการ. องค์ประกอบที่ 4 การส่งเสริมสุขภาพบุคลากรโรงพยาบาล. แม่และ วัยเรียน/ ทำ สูง เด็ก เยาวชน งาน อายุ. SURVEILLANCE. ปัญหา สุขภาพ. +. ป่วย เสี่ยง ปกติ. SCREENING. HEALTH PROMOTION. กลุ่มวัย. +. สถานที่.
E N D
คู่มือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพคู่มือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ฉบับบูรณาการ
องค์ประกอบที่ 4 การส่งเสริมสุขภาพบุคลากรโรงพยาบาล
แม่และ วัยเรียน/ ทำ สูง เด็ก เยาวชน งาน อายุ SURVEILLANCE ปัญหา สุขภาพ + ป่วย เสี่ยง ปกติ SCREENING HEALTH PROMOTION กลุ่มวัย + สถานที่ ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ (Determinants of Health) การเมือง เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา โครงสร้างพื้นฐาน นิเวศวิทยา อนามัยสิ่งแวดล้อม OTTAWA CHARTER + BANGKOK CHARTER
Health Promotion =การจัดการ การเรียนรู้ ให้บุคคล การสร้างสุขภาพ =สุขศึกษา / สุขภาพ บุคลากร/ผู้รับบริการชุมชน/สิ่งแวดล้อม เรียนรู้ และเข้าใจ จัดการ ตัดสินใจ เชื่อมั่น ในศักยภาพตนเอง ร่วมคิด ร่วมสร้างร่วมทำ
4.1 กฏระเบียบ ข้อตกลง ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาพฤติกรรม สุขภาพบุคลากร • มีการกำหนด กฎ ระเบียบ ข้อตกลงเกี่ยวกับการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของบุคลากรทุกระดับ โดยผู้บริหาร ทีมนำ มีหรือไม่มี • มีการสื่อสารให้บุคลากรทุกระดับทราบ ในบทบาทหน้าที่ตามขอบเขตที่ตนต้องทำ ด้วยวิธีการอย่างไร มีการสื่อสารกับกลุ่มใดบ้าง • มีกลไก/มาตรการส่งเสริมให้บุคลากรทุกคนปฏิบัติตามนโยบาย กฏระเบียบ ข้อตกลงที่กำหนดร่วมกัน มีหรือไม่ ... ถ้ามี อาศัยกลไก/มาตรการใด และอะไรบ้าง
4.2กิจกรรมการตรวจสุขภาพ และการประเมินความเสี่ยง ของบุคลากร 1. การตรวจสุขภาพและประเมินพฤติกรรมสุขภาพที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตและสภาพการทำงาน (3 ปี ย้อนหลัง) • ตรวจสุขภาพและประเมินพฤติกรรมสุขภาพก่อนประจำการ และ ประจำปี การประเมินความเครียด มีหรือไม่ ? ล่าสุดเมื่อ? ผลเป็นอย่างไร? • การประเมินสุขภาพบุคคล เพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับสภาพ/สภาวะของงาน ก่อนเข้าทำงาน? หรือเมื่อป่วย? หรือเปลี่ยนงาน?
4.2กิจกรรมการตรวจสุขภาพ และการประเมินความเสี่ยง ของบุคลากร • การประเมินความเสี่ยง การตรวจประเมินความเสี่ยงในการทำงานเบื้องต้น (ตามแบบประเมินความเสี่ยงของสุขภาพ และสภาพแวดล้อมในการทำงานในโรงพยาบาล RAH 01 หรือ แบบประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพอื่น ได้แก่ • การตรวจสมรรถภาพปอด • ตรวจการได้ยิน • ตรวจการมองเห็น
4.2 กิจกรรมการตรวจสุขภาพ และการประเมินความเสี่ยง ของบุคลากร(ต่อ) 3.มาตรการในการป้องกัน การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(แบบ RAH 01) 4.ให้มีรายงานผลตาม แบบ RAH 06 (คล้ายกับการตรวจสุขภาพประจำปี)
4.3 กิจกรรมพัฒนาเพิ่มพูนทักษะ และการเรียนรู้เกี่ยวกับ การจัดการสุขภาพ • มีการสำรวจความต้องการของบุคลากร ด้านการส่งเสริมสุขภาพอย่างไร (ระบุกิจกรรม และกลุ่มเป้าหมายที่ดำเนินการ รวมถึงผลการสำรวจเป็นอย่างไร) • มีกระบวนการฝึกอบรม เรียนรู้ เพื่อพัฒนาค่านิยม เพิ่มพูนทักษะ เกี่ยวกับการจัดการสุขภาพ (มีหรือไม่ ถ้ามี ดำเนินการอย่างไร? และจัดดำเนินการมาแล้วกี่ครั้ง กับกลุ่มเป้าหมายใดบ้าง และผลเป็นอย่างไรบ้าง)
3. มีการจัดทำโครงการ/กิจกรรมเพื่อเรียนรู้ เพิ่มพูนทักษะ ร่วมกันทั้งด้านกาย จิต สังคม ในการดูแลสุขภาพ ของกลุ่มต่อไปนี้อย่างไร (แนบเอกสาร กิจกรรม/โครงการ ทั้งกลุ่มปกติ/เสี่ยง/ป่วย) 4.มีกิจกรรมสร้างความตระหนัก/สร้างแรงจูงใจบทบาทของการเป็นแบบอย่างที่ดีด้านสุขภาพ มีหรือไม่? ดำเนินการด้วยวิธี? กลุ่มเป้าหมายใคร กี่ครั้ง/ผล?
5. ทีมผู้บริหาร/ ผู้นำให้ความสำคัญ และเข้าร่วม กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ และแสดงบทบาทชัดเจน 6. มีการประเมินผลโครงการ/ กิจกรรม และรับฟังความคิดเห็น เพื่อนำมาพัฒนาอย่างไร
4.4 ระบบข้อมูลสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพบุคลากร • มีระบบการเก็บข้อมูลการเจ็บป่วย/พฤติกรรมสุขภาพบุคลากรของโรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง (มีหรือไม่..ถ้ามีดำเนินการ? หน่วยงานใดดำเนินการเก็บ) • มีการนำข้อมูลมาวิเคราะห์ (ข้อมูลที่ได้จากข้อ 1) นำมาวิเคราะห์ เพื่อศึกษาแนวโน้มของปัญหา หรือไม่ ถ้ามี ดำเนินการอย่างไร • มีการกำหนดแนวทางการดำเนินงานข้อมูลหรือไม่? ถ้ามีกำหนดอย่างไร • มีการจัดทำรายงานประจำปีด้านสุขภาพบุคลากร เสนอต่อผู้บริหารระดับสูง อย่างไร
วิธีการพัฒนาสุขภาพบุคลากร/ผู้รับบริการ ญาติ ครอบครัว/ชุมชน ส่งเสริม สร้างการมี ส่วนร่วม/เป็นแบบอย่าง กลุ่มปกติ สร้างพลัง เป็นหุ้นส่วน ในการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม/ให้คำปรึกษา กลุ่มเป้าหมาย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มเป้าหมาย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย สร้างพลัง/แก้ไข (รักษา/ฟื้นฟู)
องค์ประกอบที่ 6การส่งเสริมสุขภาพในชุมชน
ภา คี ท้องถิ่น อสม. โรงพยาบาล ผู้นำชุมชน เอกชน หน่วยงานราชการ ศูนย์สุขภาพชุมชน สสอ. สื่อมวลชน องค์กรเอกชน นักวิชาการ ข่าย เครือ
แนวคิดการทำงานชุมชน ต้องร่วมคิด ร่วมทำเป็นหุ้นส่วน การมีส่วนร่วมเป็นแบบใด we work on them we work for them we work with them
6.1 การส่งเสริมสุขภาพในชุมชนโดยโรงพยาบาล • โรงพยาบาลและเครือข่ายบริการสุขภาพ ดำเนินการส่งเสริมสุขภาพในชุมชนโดยมีกลไกและกระบวนการต่างๆ? อะไรบ้าง? อย่างไร? • โรงพยาบาลวิเคราะห์ความต้องการและปัญหาชุมชน ในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพหรือไม่? อะไรบ้าง?(มีการสะท้อนข้อมูลกลับชุมชุน) • มีการจัดกิจกรรมที่สอดรับกับปัญหาชุมชน? ถ้ามี..กิจกรรมอะไร? • มีกลไกให้ชุมชนได้มีสถานที่เหมาะสม เพื่อการส่งเสริมสุขภาพหรือไม่ ถ้ามีกี่ชุมชน อย่างไร
5. มีกลไกรับฟังข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ เสียงสะท้อนของชุมชนหรือไม่ 6. มีการติดตามเยี่ยม จัดทำแฟ้มประวัติครอบครัว ร้อยละ? จำนวนกี่หมู่บ้าน จากทั้งหมดกี่แห่ง? 7. มีการจัด/สนับสนุนกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพ ร่วมกับชุมชน อปท. ภาคส่วนต่างๆ มีหรือไม่... ดำเนินการ ? ได้แก่อะไรบ้าง
6.2การสร้างเสริมชุมชนให้เข้มแข็ง6.2การสร้างเสริมชุมชนให้เข้มแข็ง • ชุมชนมีข้อมูล มีการใช้ข้อมูลสุขภาพ ข้อมูลสิทธิ/หน้าที่ และมีข้อมูลอื่นหรือไม่ หน่วยงานใดรวบรวมข้อมูล • ชุมชนมีการร่วมตัวกัน เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพ/โรคที่พบบ่อยในชุมชน มีหรือไม่...ดำเนินการอย่างไร? • ชุมชนมีกลไกสนับสนุนการสร้างเครือข่ายทั้งภายใน และภายนอกของชุมชน?...ถ้ามีดำเนินด้วยวิธีการ? • ชุมชนมีการพัฒนาด้านสุขภาพในพื้นที่อย่างต่อเนื่องหรือไม่? พื้นที่ใด และด้านใด? • องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน ภาคธุรกิจ ภาคส่วนต่างๆ มีบทบาทร่วมสนับสนุน?..อะไร?...อย่างไร?
7.ผลลัพธ์ของกระบวนการส่งเสริมสุขภาพ (บุคลากร ผู้รับบริการ/ญาติ/ครอบครัว ชุมชน) พฤติกรรมสุขภาพ : มีการปรับเปลี่ยนอย่างไร? • การบริโภค การออกกำลังกาย อารมณ์ สังคม • อนามัยสิ่งแวดล้อม ภาวะสุขภาพ • สุขภาพทางกายดี/มีแนวโน้มดีขึ้น • สุขภาพจิต : มีความเครียดปกติเพิ่มขึ้น นำเสนอผลการดำเนินงานในกลุ่มปกติ/เสี่ยง/ป่วยทำอะไร ทำอย่างไร? เสนอผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบที่เป็นชัดเจน
ขั้นตอนการเยี่ยม/ประเมินรับรองฯโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพขั้นตอนการเยี่ยม/ประเมินรับรองฯโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ รับเรื่องจากสสจ./รพ. 2 วัน พิจารณา/กำหนดวันเยี่ยมสำรวจ รพ. 14 วัน ลงเยี่ยมสำรวจโดยทีมบูรณาการ 1 วัน ประชุมพิจารณา/เขียนรายงานและรวบรวม รพ.ให้ส่วนกลางตัดสิน 15 วัน ส่วนกลางรับเรื่อง/รวบรวมจากศูนย์ ประสานคกก.กำหนดวันตัดสิน 15 วัน การตัดสิน 1 วัน กรมอนามัย แจ้งผลตัดสินให้ สสจ./ศูนย์ฯ ทราบ 7 วัน
ศูนย์อนามัยที่ 3 โทร.0-3814-8156 http//: hpc3@anamai.moph.go.th สวัสดี