600 likes | 1.23k Views
ทบทวนการพัฒนาคุณภาพระบบบริการปฐมภูมิ ( Primary Care Award, PCA). แพทย์หญิง สุพัตรา ศรีวณิชชากร สำนักวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน ( สพช ). กับดัก การทำงานคุณภาพ. การพัฒนาคุณภาพ = การกรอกข้อความในเอกสาร
E N D
ทบทวนการพัฒนาคุณภาพระบบบริการปฐมภูมิ( Primary Care Award, PCA) แพทย์หญิงสุพัตรา ศรีวณิชชากร สำนักวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (สพช)
กับดัก การทำงานคุณภาพ • การพัฒนาคุณภาพ= การกรอกข้อความในเอกสาร • กระบวนการพัฒนาคุณภาพ สั่งให้เกิดในทันทีไม่ได้ ถ้าไม่มีความเข้าใจ และไม่มีทุนคนทำงาน ที่ฐานทักษะการทำงานที่ดี หัวใจความเป็นมนุษย์ และความเข้าใจเชิงระบบมีการเรียนรู้สะสม บ่มเพาะ และดูแลให้เติบโต • การสร้างให้เกิดคุณภาพ ต้องร่วมกับการพัฒนาองค์ประกอบอื่นๆ ด้วย
ประชาชนสุขภาพดี พึ่งตนเองได้ในด้านสุขภาพ ได้รับบริการอย่างเหมาะสมทั่วถึง หน่วยบริการปฐมภูมิ องค์กรชุมชน/ท้องถิ่น หน่วยงานรัฐอื่นๆ ระบบงานคุณภาพ การพัฒนาคน (มุมมอง ทักษะ ความใส่ใจ ความรู้) มี/จัดการ ทุน ทรัพยากร ที่พอดี
เป้าหมายผลลัพธ์ต่อชีวิตของประชาชนเป้าหมายผลลัพธ์ต่อชีวิตของประชาชน การดูแลตนเองให้แข็งแรง ป้องกันตนเองได้ ชุมชนและท้องถิ่นร่วมกันดูแลสุขภาพคนในชุมชน Good health literacy ป่วยตามจำเป็น หายเร็ว การจัดระบบที่ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน การจัดการให้สภาพแวดล้อมเอื้อต่อสุขภาพ ไม่เป็นโรค และนโยบายสาธารณะ ชุมชน แกนนำ กลุ่มต่างๆ อปท. Actors หน่วยบริการปฐมภูมิ หน่วยงานอื่นๆ ในชุมชน สธ. สปสช. สวรส. สสส หน่วยอำนวยการ ประสาน สนับสนุน รพ. /สสอ. หน่วยงานรัฐอื่นๆ
PCA • ต้องทำเป็น CUP (เครือข่ายอำเภอ = รพ+สสอ+สอ) CUP เป็นเจ้าของร่วม ไม่ใช่ทำ แค่ PCU • ต้องพัฒนาที่ core value ของการทำงานด้วย มิใช่เพียง แค่ประเมินตามตาราง หรือตามคำถามเท่านั้น ต้องมีการพัฒนาวิธีทำงาน ตาม core value • มีการพัฒนาคน ควบคู่กับการ พัฒนาระบบงาน มิใช่แค่ตอบคำถามอย่างเดียว • มีการพัฒนาระบบการเรียนรู้ และการทบทวน พัฒนาตนเองต่อเนื่อง
แนวคิดการพัฒนา บทบาทของระบบบริการปฐมภูมิ บริการรักษา ส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟู เสริมการพึ่งตนเองอย่างสมดุล ประชาชนมีส่วนร่วม เน้นการร่วมสร้างเสริม “สุขภาพดี” คุณลักษณะคุณภาพของบริการปฐมภูมิ เข้าถึงง่าย ผสมผสาน องค์รวม ต่อเนื่อง ตอบสนองปัญหาสุขภาพพื้นที่ ผสมผสานกับชุมชน ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ปรับวิธีทำงานตามหลักการให้เหมาะสมกับบุคคล และบริบทแวดล้อม การพัฒนาคุณภาพ แนวคิด CQI เน้นวิธีคิด และการเรียนรู้ปรับตัวอย่างเป็นระบบ เน้นประเมินเพื่อพัฒนา มากกว่าการรับรอง
Core Value หลักการทำงาน • การมองประชาชนเป็นศูนย์กลาง หรือ ความเป็นเลิศที่ต้องได้จากการให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย • 2. การทำงานอย่างมีส่วนร่วมกับกลุ่มเป้าหมาย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • 3. การบริหารจัดการด้วยการใช้ข้อมูล และข้อเท็จจริง • 4. การเรียนรู้ขององค์กรและบุคคล • 5. การบริหารจัดการเชิงระบบ • 6. การมีความคล่องตัว • 7. การยึด “ผลลัพธ์” และ “การให้คุณค่า” เป็นเป้าหมายในการทำงาน Human focus & people centred Community / people participation Evidence based Learning : org./personnel System management Flexibility & context base Result based / value added
มาตรฐานระบบประกันคุณภาพ CUP & PCU • ใช้กรอบของmalcombaldridge ตอนที่ 1 : การบริหารจัดการองค์กร การนำ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การมุ่งเน้นประชากรและกลุ่มเป้าหมาย การวัดวิเคราะห์ และจัดการความรู้ การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล ตอนที่ 2 : กระบวนการสร้างคุณค่าของระบบบริการปฐมภูมิ ตอนที่ 3 : กระบวนการสนับสนุนระบบบริการปฐมภูมิ ตอนที่ 4 : ผลลัพธ์องค์กร
ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย หมวดที่ 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ หมวดที่ 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล ส่วนที่ 1 ส่วนที่ 3 หมวดที่ 7 ผลลัพธ์ 7.1 ด้านประสิทธิผล 7.2 ด้านคุณภาพการให้บริการ 7.3 ด้านประสิทธิภาพของกระบวนการให้บริการ 7.4 ด้านการพัฒนาองค์กรเครือข่ายบริการปฐมภูมิ หมวดที่ 1 การนำองค์กร หมวดที่ 3 การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวดที่ 6 ระบบบริการ ส่วนที่ 2 หมวดที่ 4 การวัด วิเคราะห์ และการจัดการความรู้ • 6.1 กระบวนการให้บริการที่สร้างคุณค่า • ของระบบบริการปฐมภูมิ • - การจัดระบบบริการสุขภาพโดยรวมฯ • การบริการปฐมภูมิระดับบุคคลและครอบครัว ฯ • การดูแลสุขภาพกลุ่มประชากร • การสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกับองค์กรชุมชน 6.2 กระบวนการสนับสนุนการให้บริการที่สร้างคุณค่าของระบบบริการปฐมภูมิ - การจัดระบบสนับสนุนบริการ - การสนับสนุนและมีส่วนร่วมของท้องถิ่น ชุมชน หน่วยงานต่างๆ
Path to Performance Excellence Reacting to Problems Systematic Approach No system Alignment Integration Role Model Role Model 6 Integration 5 Alignment 4 Systematic Approach ปรับ ทำ คิด 3 Reacting to Problems 2 No system 5 6 1 P 1 2 3 Strategic Leadership Lead the organization 1 / 2 / 5 / 11 C A 4 7 D Organizational Learning 3/ 4 / 6 / 10 Improve the organization Manage the organization Execution Excellence 7/ 8 / 9
ขั้น / กระบวนการพัฒนา เพื่อเพิ่มคุณภาพบริการ • การปรับเนวคิด มุมมอง เข้าใจ core value และแปลง core value สู่รูปธรรมการทำงานแบบมีคุณภาพเพิ่มขึ้น • การปรับวิธีทำงานรายบุคคล ที่เพิ่มคุณภาพในทิศทางของ core value • การนำบทเรียนจากการเปลี่ยนจุดเล็ก ไปสู่การปรับระบบงาน ในระยะแรก และปรับระบบที่ยั่งยืนเพิ่มขึ้น • การทบทวน ปรับปรุง เรียนรู้ พัฒนาต่อเนื่อง • การปรับระบบ ดำเนินงาน ต่อเนื่อง จนมีผลลัพธ์งานที่ดีขึ้น ตามเป้าหมาย พันธกิจ ขององค์กร
การเชื่อมโยง DHS, PCA, รพ.สต และ FM แพทย์หญิงสุพัตรา ศรีวณิชชากร สำนักวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (สพช)
การบูรณาการ หาเป้าหมายร่วม หา กลุ่มเป้าหมายร่วม หาวิธีการร่วม เชื่อมเป้า เชื่อมคน เชื่อมวิธีทำงาน
การประสาน หนุนเสริม โครงการ ภายใต้ โครงการใหม่ ๆ นโยบายต่างๆ ที่เกิดขึ้น • การประสาน หนุนเสริมกระบวนการพัฒนา และต่อยอด ระหว่างโครงการต่างๆ เพื่อนำไปสู่เป้าหมาย พัฒนาระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืน เพื่อประชาชนมีสุขภาพดี • Mapping เป้าประสงค์ของงาน กลุ่มเป้าหมาย และกระบวนการ ที่เป็นจุดร่วม ในการพัฒนาสู่ทิศทางเดียวกัน • หากลไก เชื่อมโยง หนุนเสริม ต่อยอด กัน
ระบบบริการสุขภาพที่พึงประสงค์ระบบบริการสุขภาพที่พึงประสงค์ • ยุติธรรม เท่าเทียม เข้าถึงได้ ( Equity - Accessibility) • มีคุณภาพ (Quality) • ด้านการแพทย์ • แนวคิดองค์รวม • มีประสิทธิภาพ (Efficiency) • Social Accountability • ตอบสนองความต้องการของประชาชน • โปร่งใส ตรวจสอบได้
ดุลย์ของการพึ่งตนเอง และพึ่งบริการ การพึ่งตนเอง การพึ่งบริการ ทิศทางการพัฒนา ทิศทางการพัฒนา การกิน การนอน การดำรงค์ชีพ การพักผ่อน การออกกำลังกาย หมอนอกระบบ อสม. สถานีอนามัย คลีนิคเอกชน รพ.เอกชน รพ.รัฐ ฯลฯ การดูแล สุขภาพอนามัย บริการปฐมภูมิ ฯลฯ บริการทุติยภูมิ การดูแลตนเองเมื่อป่วย การพักผ่อน การซื้อยากินเอง การดูแลทางกายภาพ (อาบน้ำ/เช็ดตัว/นวด) ฯลฯ บริการตติยภูมิ พฤติกรรมสุขภาพ การใช้บริการ บริบททางสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และ ความต้องการจำเพาะพื้นที่ และกลุ่มประชากร
สุขภาพดี PHC concept * Holistic Health * Self-reliance * Integrated system * Relevancy - Inter-sectoral Collaboration - People Participation - Appropriate Technology บริการอื่นๆ ประชาชน บริการปฐมภูมิ (Primary care) • ทำนุบำรุงสุขภาพ • ป้องกันตนเอง • ดูแลสุขภาพ • บริการที่ • ซับซ้อน • สนับสนุน • เชื่อมโยงบริการ • ด่านแรก • ต่อเนื่อง • ผสมผสาน • ประสานงาน
DHS ข้อกำหนดกรอบคุณภาพ PCA_CUP & PCU • ใช้กรอบของmalcombaldridge • คณะกรรมการระดับอำเภอ (Unity District Health Team) • การมีส่วนร่วมของเครือข่ายและชุมชน(Community participation) • การให้คุณค่าการทำงาน(Appreciation) • การพัฒนาและจัดสรรทรัพยากร ( Knowledge, CBL, FM) • การดูแลสุขภาพตามบริบทที่จำเป็น (Essential care) ตอนที่ 1 : การบริหารจัดการองค์กร 1.การนำ 2.การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 3. การมุ่งเน้นประชากรและกลุ่มเป้าหมาย 4.การวัดวิเคราะห์ และจัดการความรู้ 5. การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล ตอนที่ 2 : 6.1กระบวนการสร้างคุณค่าของ ระบบ บริการปฐมภูมิ ตอนที่ 3 : 6.2กระบวนการสนับสนุน ระบบบริการปฐมภูมิ ตอนที่ 4 : ผลลัพธ์องค์กร
เครือข่ายระบบบริการสุขภาพบูรณาการเครือข่ายระบบบริการสุขภาพบูรณาการ • ไม่มีช่องว่าง • ไม่มีความซ้ำซ้อน • มีระบบเชื่อมโยงทีมีประสิทธิภาพ • ประชาชนใช้บริการสุขภาพอย่างเหมาะสม
บทบาท ของ บริการสาธารณสุขระดับอำเภอ (DHS) วางแผน และประสานแผนการจัดบริการเพื่อสุขภาพของประชาชนในความรับผิดชอบ ประสานงานกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวกับสุขภาพ ให้บริการด้านสุขภาพโดยตรง ทั้งรักษา ส่งเสริม ป้องกันฟื้นฟู สนับสนุนให้ประชาชนมีความรู้ ความสามารถในการดูแล ส่งเสริมสุขภาพได้เหมาะสม
ระบบบริการสาธารณสุขระดับอำเภอระบบบริการสาธารณสุขระดับอำเภอ องค์ประกอบ • บุคคล และครอบครัว • ชุมชน • หน่วยบริการด่านแรก หรือบริการระดับปลายสุด • โรงพยาบาลที่เป็นหน่วยรับการส่งต่อระดับแรก
บทบาทหน้าที่ของ รพ.ที่เป็น first referral • ให้บริการทุกด้านที่ผสมผสาน ที่เชี่ยวชาญมากขึ้น ตลอด 24 ชม. • เป็นส่วนหนึ่งของ DHS • สนับสนุนการพัฒนาหน่วยบริการด่านแรก • ทั้งบริการ บริหาร วิชาการ • เชื่อมโยงกับชุมชน, ประสานกับหน่วยอื่นเพื่อพัฒนาชุมชน • เป็นหน่วยส่งต่อ • ฝึกอบรม พัฒนาบุคลากร
หน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิ เป็นหน่วยงานที่มีความรับผิดชอบต่อสุขภาพของประชาชน อย่างต่อเนื่อง- รู้สภาวะสุขภาพ หามาตรการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นที่ปรึกษาของประชาชนในด้านการดูแลสุขภาพ ให้บริการพื้นฐานที่จำเป็นแก่ประชาชนทุกกลุ่มอายุ และบริการทั้งที่เป็นการรักษาพยาบาล การส่งเสริมฯ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสภาพ ติดตาม ประสาน การให้บริการประเภทต่างๆ เพื่อให้เกิดบริการที่บูรณาการ ต่อเนื่อง
เป็นหน่วยบริการด่านแรก(First contact) ที่มีคุณลักษณะสำคัญของบริการปฐมภูมิ5 ประการ 1 A 4 C • จัดระบบบริการ ให้มีการ เข้าถึงบริการที่ดี และง่าย (Accessibility ) • บริการแบบองค์รวม ผสมผสาน และยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง ( Holistic / Comprehensive Care )ด้วย หัวใจของความเป็นมนุษย์ ( Humanized service mind ) • จัดระบบบริการ ที่สร้างความต่อเนื่องในการดูแล (Continuity of Care) และมีมาตรฐาน การบริการสุขภาพ ทางคลินิก และทางชุมชนที่ดี( Standard Clinical & community service ) • ประชาชนมีส่วนร่วม และมีความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชน ( Community empowerment ) • มีระบบการประสานงานเชื่อมโยงที่ดี กับหน่วยบริการสุขภาพ ในเครือข่าย (Coordination )
People-centred care World Health Report: 2008
เครือข่ายสุขภาพอำเภอ (DHS) Specialist แพทย์เฉพาะทาง Provincial Hospitalรพท. /รพศ. PCA ร่วม เอกภาพ ของภาคีเครือข่ายสุขภาพอำเภอรพ.ชุมชน -สสอ.-รพ.สต.-อปท.- ชุมชน Other Sectors ภาคส่วน อื่นๆ CBLรบฐ.Common Goalร่วมคิดCommon Actionร่วมทำCommon Learningร่วมเรียนรู้ Essential Cares Self Care SRM Action Research / R2R • Psychosocial Outcomes • Value คุณค่า • Satisfaction ความพอใจ • Happiness ความสุข • Clinical Outcomes • Morbidity อัตราป่วย • Mortality อัตราตาย • Quality of Life คุณภาพชีวิต
เครือข่ายสุขภาพอำเภอ (DHS) Essential Cares ส่งเสริม - ป้องกัน แม่และเด็ก ระบบแพทย์ฉุกเฉิน เจ็บป่วยเล็กน้อย สุขภาพฟัน โรคเรื้อรัง จิตเวช - สุขภาพจิต ผู้พิการ ผู้ป่วยระยะท้าย กลุ่มเสี่ยงสูง (เด็กเล็ก วัยรุ่น ผู้สูงอายุ คนจน คนทุกข์ยาก) • เอกภาพ DHS • แนวคิด - นโยบาย • โครงสร้าง • แบ่งปันทรัพยากร(Resources Sharing) • พัฒนากำลังคน • ระบบข้อมูล • ระบบสนับสนุน • การจัดการแนวใหม่ • New Management • (Partnership & • Networking) Specialist แพทย์เฉพาะทาง Provincial Hospitalรพท. /รพศ. PCA ร่วม เอกภาพ ของภาคีเครือข่ายสุขภาพอำเภอรพ.ชุมชน -สสอ.-รพ.สต.-อปท.- ชุมชน Other Sectors ภาคส่วน อื่นๆ CBLรบฐ.Common Goalร่วมคิดCommon Actionร่วมทำCommon Learningร่วมเรียนรู้ Essential Cares Self Care SRM Action Research / R2R • Psychosocial Outcomes • Value คุณค่า • Satisfaction ความพอใจ • Happiness ความสุข • Clinical Outcomes • Morbidity อัตราป่วย • Mortality อัตราตาย • Quality of Life คุณภาพชีวิต
เครือข่ายการบริการปฐมภูมิ กับโรงพยาบาล หน่วยบริหาร เครือข่าย ศสช.. PCU แพทย์ โรงพยาบาล ทีมสนับสนุน PCU สอ. แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร PCU สอ. PCU พยาบาล PCU แพทย์ PCU สอ. PCU สอ. ทันตแพทย์ เภสัชกร PCU สอ. PCU สอ. หน่วยปฏิบัติการ ศสช. PCU พยาบาล.
เป้าหมายคุณภาพชีวิตที่ดี - QOL กลวิธี แนวคิด PrimaryHealthCare หน่วยให้บริการ / การจัดบริการ ศาสตร์ วิชาการ ลำดับขั้นของบริการ ความซับซ้อนของบริการ เฉพาะทางอื่นๆ (Specialist) ระดับตติยภูมิ โรงพยาบาล ระดับทุติยภูมิ เวชปฏิบัติครอบครัว (FamilyPractice / GP) หน่วยบริการ ด่านแรก ระดับปฐมภูมิ
เวชปฏิบัติครอบครัว • 1. Primary Care • 2. Continuing Care • 3. Comprehensive Care • 4. Whole Patient Care “Thefamilyaspatient”
Understand the Whole Person Context Family • Culture • Work • School • HC system Person • Family system • Family Life cycle • Life cycle • Family of origin • History Disease • S & S • Ix Illness • Feeling • Ideas • Function • Expectation
Holistic Framework • Community • Pt.& Fam Role • Resource • HSS • Work • School • Culture • Religion • Family • Family System • Family Life cycle • Family Stress • Family Coping • Family Resource • Impact on Health • Person • Who, Life cycle • Development • Family of Origin Illness Disease
Active Listening • “Listenbyheart” • ListentoFact & Feeling • Relaxed & AttentiveSilence • Reflection • Encouragement
Doctor-Patient Communication • อาการ = รูปแบบหนึ่งของการสื่อสาร • การมาปรึกษาหมอ = แปลความว่าร่างกายไม่ปกติ • คำพูดอาจไม่เพียงพอในการบรรยายความรู้สึก • “ความเห็น,ข้อสงสัยสุดท้าย” = เหตุผลที่แท้จริงในการมารับบริการ
องค์ประกอบการพัฒนา • ทีมแกนที่เข้าใจหลักการ แก่นคิดในการพัฒนาคุณภาพ PCA สร้างกลยุทธ์การพัฒนาในพื้นที่ • ทีมที่เป็นพี่เลี้ยง กระตุ้น พาทำ ชวนกันให้มีการพัฒนาคุณภาพบริการ โดยไม่จำเป็นต้องเริ่มจากกรอบคุณภาพ • ทีมที่เยี่ยมเยียน เรียนรู้ และเสริมเติม สะท้อนให้แก่พื้นที่ หยิบผลลัพธ์ที่ดีขยายต่อ • กลุ่มคน ที่มีทักษะการพัฒนาเฉพาะเรื่อง เฉพาะประเด็น • สรุปบทเรียน การเรียนรู้ การพัฒนา ของแต่ละพื้นที่ นำไปเชื่อมโยงกับระบบ เพื่อตอบผลต่อนโยบาย
การออกแบบ ขึ้นกับทุน และธรรมชาติขององค์กรแต่ละแห่ง ว่าจะเคลื่อนอย่างไรจึงจะได้ผล • เริ่มต้นที่การพัฒนา อย่าเริ่มต้นด้วยการกรอกแบบประเมิน • อาจประสานให้ส่วนอื่นมาช่วย แต่ต้องรู้ว่าเชื่อมโยงเสริมอย่างไร อย่าทำให้ทีมตนเองเขว