370 likes | 592 Views
สถานภาพด้าน การดำเนินความปลอดภัยทางชีวภาพ. ดร.เมธินี ศรีวัฒนกุล สำนักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ กรมวิชาการเกษตร S_metinee@yahoo.com การจัดการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ การประเมินความปลอดภัย ทางชีวภาพของพืชดัดแปลงพันธุกรรม ภูมิภาคใต้ ครั้งที่ 1 ” โรงแรมทวินโลตัส จังหวัดนครศรีธรรมราช
E N D
สถานภาพด้านการดำเนินความปลอดภัยทางชีวภาพสถานภาพด้านการดำเนินความปลอดภัยทางชีวภาพ ดร.เมธินี ศรีวัฒนกุล สำนักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ กรมวิชาการเกษตร S_metinee@yahoo.com การจัดการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การประเมินความปลอดภัย ทางชีวภาพของพืชดัดแปลงพันธุกรรม ภูมิภาคใต้ ครั้งที่ 1” โรงแรมทวินโลตัส จังหวัดนครศรีธรรมราช วันที่ 16-17 มีนาคม 2549
มติ คณะกรรมการนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ (กนศ.) • ห้ามการนำเข้ามาเพาะปลูกในเชิงพาณิชย์ • อนุญาตให้นำเข้าเฉพาะเพื่อทดลองวิจัยเท่านั้น • ใช้ พรบ. กักพืช พ.ศ. 2507 กำกับดูแล
ยุทธศาสตร์เสริมสร้างความสามารถด้านการวิจัยและพัฒนาพืชจีเอ็มโอและความปลอดภัยทางชีวภาพของประเทศไทยยุทธศาสตร์เสริมสร้างความสามารถด้านการวิจัยและพัฒนาพืชจีเอ็มโอและความปลอดภัยทางชีวภาพของประเทศไทย คณะกรรมการนโยบายเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ครั้งที่1/2549 วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2549 • เพื่อให้เกิดความสามารถในการพึ่งตนเองได้ตลอดกระบวนการและได้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นของไทย โดยมุ่งการวิจัยและพัฒนาพันธุ์พืชหลายๆ ชนิด และเป็นทรัพย์สินทางปัญญาของประเทศ • ระยะเวลา 3 ปี (พ.ศ.2549-2551) • กรอบวงเงิน 240 ล้านบาท
ยุทธศาสตร์เสริมสร้างความสามารถด้านการวิจัยและพัฒนาพืชจีเอ็มโอและความปลอดภัยทางชีวภาพของประเทศไทยยุทธศาสตร์เสริมสร้างความสามารถด้านการวิจัยและพัฒนาพืชจีเอ็มโอและความปลอดภัยทางชีวภาพของประเทศไทย • เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ที่ 1 : การเสริมสร้างความสามารถของนักวิจัยไทยให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และสามารถแข่งขันได้ในลำดับต่อไป • เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ที่ 2 : การพัฒนาพืชจีเอ็มโอที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม • เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ที่ 3 : การสร้างความสามารถในการทดสอบและควบคุมความปลอดภัยทางชีวภาพภาคสนามและไร่นา • เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ที่ 4 : การสร้างความเข้าใจต่อสังคม
สถานภาพด้านกฎหมาย • พรบ กักพืช พ.ศ. 2507 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พรบ. กักพืช (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542 : กำกับดูแล การนำเข้าพืชที่เป็น GMOs เพื่อการทดลองวิจัยเท่านั้น • พรบ. คุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542 : พืช GMOs ที่จะขอรับการคุ้มครองเป็นพันธุ์พืชใหม่จะต้อง ผ่านการประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพ ต่อสิ่งแวดล้อม
สถานภาพด้านกฎหมาย • พรบ. การส่งออกไปนอกและนำเข้ามาใน ราชอาณาจักร ซึ่งสินค้า พ.ศ. 2522 : กำกับ ดูแล การนำเข้าพืชที่เป็น GMOs • ที่ใช้เป็นอาหารสำเร็จรูป • ข้าวโพดและถั่วเหลืองที่ใช้เป็นวัตถุดิบ • พรบ. อาหาร พ.ศ. 2522 : กำกับ ดูแล ตรวจสอบ วิเคราะห์ และออกใบรับรองสินค้าอาหารและ ผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปแล้ว
การดำเนินงานของกรมวิชาการเกษตรการดำเนินงานของกรมวิชาการเกษตร • พรบ กักพืช พ.ศ. 2507 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พรบ. กักพืช (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542 : • ป้องกัน “อันตราย” จาก โรค แมลง และศัตรูพืชที่ร้ายแรง มิให้เข้ามาแพร่ระบาดในประเทศ จากการติดเข้ามากับพืช และผลิตผลพืชที่นำเข้ามาจากต่างประเทศ • พืชตัดต่อสารพันธุกรรม เป็น “สิ่งต้องห้าม” ตาม พรบ. • มาตรการด้านการนำเข้า • มาตรการด้านการส่งออก
การนำเข้าพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรมการนำเข้าพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรม • ประกาศ กษ เรื่อง กำหนดพืชจากแหล่งที่กำหนดเป็น สิ่งต้องห้าม ข้อยกเว้น และเงื่อนไข ฯ ประกาศ ณ วันที่ 17 มี.ค. 43 : รายชื่อพืช 40 ชนิดเป็นสิ่งต้องห้าม • ประกาศ กษ ณ วันที่ 14 ต.ค. 46 เพิ่มเติมอีก 49 ชนิด • ประกาศกรมฯ เรื่อง กำหนดแนวทางปฏิบัติในการ ขออนุญาตนำเข้าหรือนำผ่าน ซึ่งสิ่งต้องห้าม ฯ ประกาศ ณ วันที่ 7 มี.ค. 44 • คณะกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพด้านการเกษตร กรมวิชาการเกษตร
ตัวอย่างพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรมที่เป็นสิ่งต้องห้ามตัวอย่างพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรมที่เป็นสิ่งต้องห้าม
ตัวอย่างพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรมที่เป็นสิ่งต้องห้ามตัวอย่างพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรมที่เป็นสิ่งต้องห้าม
แผนภูมิขั้นตอนการขออนุญาตนำเข้าพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรมแผนภูมิขั้นตอนการขออนุญาตนำเข้าพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรม ยื่นคำขออนุญาตนำเข้า (แบบ พ.ก.1) ตรวจสอบเอกสารหลักฐานประกอบคำขอ ผู้ทรงคุณวุฒิ ตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูล สรุปเสนอ ความเห็น : อนุญาต/ไม่อนุญาต : คณะกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพด้านการเกษตรเสนอความเห็นต่ออธิบดีกรมวิชาการเกษตร อนุญาตให้นำเข้า (แบบ พ.ก.2) ไม่อนุญาตให้นำเข้า นำเข้า
แผนภูมิขั้นตอนการนำเข้าพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรมแผนภูมิขั้นตอนการนำเข้าพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรม พืชที่ได้รับอนุญาตให้นำเข้า ต้องมีใบรับรองปลอดศัตรูพืช แจ้งนำเข้าก่อน 60 วัน นำเข้าได้ทางด่านตรวจพืช 3 ด่าน 1. ดพ. ท่าเรือกรุงเทพ 2. ดพ. ไปรษณีย์ 3. ดพ. ท่าอากาศยานกรุงเทพ หีบห่อสิ่งต้องห้ามส่งตรงถึงอธิบดีฯ ตรวจสอบโรคศัตรูพืชที่สำคัญทางกักกันพืช
แผนภูมิขั้นตอนการศึกษาทดลองพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรมแผนภูมิขั้นตอนการศึกษาทดลองพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรม ผู้รับอนุญาตให้นำเข้าสิ่งต้องห้าม เสนอแผนการทดลองในโรงเรือน/ในแปลงทดลอง คณะทำงานตรวจสอบความปลอดภัยทางชีวภาพภาคสนาม ติดตาม/ตรวจสอบ/ให้คำแนะนำด้านการจัดการ ทดลองและรายงานสรุปผลการดำเนินงาน คณะอนุกรรมการประเมินผลและวิเคราะห์ความเสี่ยงทางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ พิจารณา รายงานสรุปผลการตรวจสอบวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ เสนอความเห็นต่อกรมวิชาการเกษตร คณะกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพด้านการเกษตร เสนอข้อคิดเห็นว่าสมควรยกเลิกพืชนั้น ๆ จากการเป็นสิ่งต้องห้าม หากเห็นว่ามีความปลอดภัยทางชีวภาพ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร คณะกรรมการกักพืช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์พิจารณากำหนดยกเลิกการเป็นสิ่งต้องห้าม
แผนภูมิขั้นตอนการศึกษาทดลองพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรมแผนภูมิขั้นตอนการศึกษาทดลองพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรม ผู้รับอนุญาตให้นำเข้าสิ่งต้องห้าม เสนอแผนการทดลองใน โรงเรือน/ในแปลงทดลอง คณะทำงานตรวจสอบความปลอดภัย ทางชีวภาพภาคสนาม ติดตาม/ตรวจสอบ/ให้คำแนะนำ ด้านการจัดการทดลองและ รายงานสรุปผลการดำเนินงาน
คณะอนุกรรมการประเมินผลและวิเคราะห์คณะอนุกรรมการประเมินผลและวิเคราะห์ ความเสี่ยงทางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ พิจารณา รายงานสรุปผลการตรวจสอบวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ เสนอความเห็นต่อกรมวิชาการเกษตร คณะกรรมการความปลอดภัย ทางชีวภาพด้านการเกษตร
เสนอข้อคิดเห็นว่าสมควรยกเลิกพืชนั้น ๆ จากการเป็นสิ่งต้องห้าม หากเห็นว่ามีความปลอดภัยทางชีวภาพ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร คณะกรรมการกักพืช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พิจารณากำหนดยกเลิกการเป็นสิ่งต้องห้าม
กฎระเบียบเกี่ยวกับพืชGM –from lab to field แล้วแต่กรณี “Case by case” อนุญาต(Release/use/commercialization) สภาพไร่(Scale Up trials/locations) แปลงทดลอง(Confined field trials/single multiple locations) โรงเรือน (greenhouse) ห้องปฏิบัติการ(lab)
แนวทางการทดสอบเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพแนวทางการทดสอบเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพ • ขั้นตอนที่ 1: -> ภายในโรงเรือน/ห้องปฏิบัติการ ปิดมิดชิดอย่างน้อย 1 ฤดูปลูก • ขั้นตอนที่ 2 : ต้องผ่านขั้นตอนที่ 1 ->แปลงทดลอง ขนาดเล็กที่ควบคุมสภาพ อย่างน้อย 1 ฤดูปลูก • ขั้นตอนที่ 3 : ต้องผ่านขั้นตอนที่ 1 และ 2 -> สภาพแปลงใหญ่
ศึกษาผลกระทบ • การเปลี่ยนแปลงลักษณะด้านสัณฐานวิทยาของพืช • ระบบสืบพันธุ์และการขยายพันธุ์ • การเป็นวัชพืช • ผลกระทบต่อวัชพืชที่อยู่ข้างเคียงและพืชปลูกตาม • จุลินทรีย์ในดิน • แมลงและสิ่งมีชีวิตอื่น • การผสมข้าม • การศึกษาอื่นๆ ตามความเหมาะสม
พืช GMOs ที่ได้รับอนุญาตและนำเข้ามาเพื่อการทดลองวิจัย
พืช GMOs ที่ได้รับอนุญาตและนำเข้ามาเพื่อการทดลองวิจัย
พืช GMOs ที่ได้รับอนุญาตและนำเข้ามาเพื่อการทดลองวิจัย
พืช GMOs ที่ได้รับอนุญาตและนำเข้ามาเพื่อการทดลองวิจัย
พืช GMOs ที่ได้รับอนุญาตและนำเข้ามาเพื่อการทดลองวิจัย
งานวิจัยพันธุวิศวกรรมต้องดำเนินงานตามงานวิจัยพันธุวิศวกรรมต้องดำเนินงานตาม แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพ Biosafety Guidelines in Genetic Engineering and Biotechnology for Laboratory Work (1992) (NBC) + Biosafety Guidelines in Genetic Engineering and Biotechnology for Field Work and Planned Release (1992) (NBC) Merged and revised completed in November 2004 Guidelines in Safety Assessment of Genetically Modified Foods (2001) (NBC)
ขอบเขตของแนวปฏิบัติ • ใช้กับการวิจัยและทดลองในห้องปฏิบัติการ ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างและหรือการขยายจำนวนไวรอยด์ ไวรัส เซลล์หรือสิ่งมีชีวิตที่มีสารพันธุกรรมใหม่อันเกิดจากกระบวนการดัดแปลงสารพันธุกรรมซึ่งไม่น่าจะเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและอาจมีอันตรายในด้านสาธารณสุข หรือต่อสิ่งแวดล้อม (บทที่ 2 และบทที่ 4)
ขอบเขตของแนวปฏิบัติ • ใช้กับการทดลองวิจัยหรือการผลิตที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตที่ได้รับการดัดแปลงพันธุกรรมในระดับความจุของถังหมักหรือถังปฏิกรณ์ชีวภาพที่มีความจุมากกว่า 10 ลิตรขึ้นไป(บทที่ 6)
ขอบเขตของแนวปฏิบัติ • ใช้กับการวิจัยและทดลองภาคสนามของสิ่งมีชีวิตเฉพาะพืชและจุลินทรีย์ทุกชนิดที่เป็นสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม ซึ่งเมื่อผ่านการวิจัยและทดลองในระดับห้องปฏิบัติการแล้ว อาจมีความจำเป็นต้องมีการทดสอบภาคสนามรวมถึงในแปลงทดลองและสภาพไร่นา (บทที่ 7)
สรุปแนวปฏิบัติในห้องปฏิบัติการสรุปแนวปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ • ขึ้นกับประเภทของงานวิจัย (1-4) ซึ่งแบ่งตามอันตรายที่อาจเกิดขึ้น (บทที่ 2) • ระดับความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ จะขึ้นอยู่กับประเภทของงานวิจัย(บทที่ 4) • ซึ่งจะต้องจัดเตรียมห้องปฏิบัติการให้ได้มาตรฐานตามระดับความปลอดภัย (ผนวก 9-12 และผนวก 13)
ขอบเขตแนวทางปฏิบัติการวิจัยและทดลองภาคสนาม (บทที่ 7) • ขั้นตอนที่ 1. การวิจัยและทดสอบในโรงเรือนปลูกและเพาะเลี้ยงพืชและ/หรือห้องปฏิบัติการ • ขั้นตอนที่ 2. การวิจัยและทดสอบในแปลงทดลองภาคสนามขนาดเล็ก • ขั้นตอนที่ 3. การวิจัยและทดสอบในภาคสนามขนาดใหญ่เพื่อการผลิตทางการเกษตร
การวิจัยและทดลองภาคสนามการวิจัยและทดลองภาคสนาม • มี 3 ขั้นตอน โรงเรือน แปลงขนาดเล็ก แปลงขนาดใหญ่ • มาตรฐานของโรงเรือนแบ่งเป็น 4 ระดับความปลอดภัย • ซึ่งขึ้นกับระดับอันตรายของสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมที่นำมาทดลอง
Institutional Framework • National Biosafety Committee (NBC) (January 1993-27 December 2004) • NBC Subcommittees • Institutional Biosafety Committees (IBCs) (27 IBCs in 2005)
INSTITUTIONAL BIOSAFETY COMMITTEES (IBCs) (1993 – 2002) Srinakharinwirot University (1993) Kasetsart University (1993) Chiang Mai University (1993) Department of Agriculture (1994) Chulaporn Research Institute (1997) Mahidol University (1997) Food and Drug Administration (1997) Prince of Songkla University (1997) Walailakh University (1997) Khon Kaen University (1997) King Mongkut University of Technology, Thonburi (1997) National Center for Genetic Engineering and Biotechnology (1998) Thailand Institute of Scientific and Technological Research (1998) Ajinomoto Co. (Thailand) (1998) Department of Medical Science (1998) Department of Fisheries (1999) Suranaree University of Technology (2002)
Regulatory Framework • Cartagena Protocol National Focal Point • Biosafety Clearing House (BCH) National Focal Point • National Competent Authorities • Biosafety Law Focal Point: Division of Biodiversity established on 19 July 2005, under the Office of Natural Resources & Environmental Policy & Planning (ONEP) within the Ministry of Natural Resources & Environment (MONRE)
Cartagena Protocol on Biosafety • มีผลบังคับใช้ 11 กันยายน 2546 ปัจจุบันมีภาคี 132 ประเทศ • มีผลบังคับใช้กับประเทศไทย 8 กุมภาพันธ์ 2549 • วัตถุประสงค์เพื่อควบคุม ดูแลการขนย้าย จัดการ การใช้ • ความปลอดภัยที่เกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพและสุขอนามัย • คงสิทธิอำนาจให้รัฐจัดการควบคุม ดูแลการใช้ LMOs ภายในประเทศของตน • สะท้อนหลักการ Precautionary approach (หลักการประเมินทางวิทยาศาสตร์ ANNEX)
Biosafety: internal and external factors Review Process People Feedback Mechanisms Guidelines/ Regulations Regulatory Implementation Regulatory Development Knowledge and Skills Base National Policy National Inventory and Evaluation
GMOs GMOs GMOs ขอขอบคุณมากค่ะ