1 / 70

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการวิเคราะห์โครงการ

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการวิเคราะห์โครงการ. เอกสารประกอบการอบรม โครงการฝึกอบรมเส้นทางสู่ความก้าวหน้าผู้ช่วยผู้ตรวจราชการและเจ้าหน้าที่สนับสนุนการตรวจราชการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฉัตรมงคล แน่นหนา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. การวิเคราะห์โครงการ. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฉัตรมงคล แน่นหนา.

derora
Download Presentation

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการวิเคราะห์โครงการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการวิเคราะห์โครงการความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการวิเคราะห์โครงการ เอกสารประกอบการอบรม โครงการฝึกอบรมเส้นทางสู่ความก้าวหน้าผู้ช่วยผู้ตรวจราชการและเจ้าหน้าที่สนับสนุนการตรวจราชการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฉัตรมงคล แน่นหนา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  2. การวิเคราะห์โครงการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฉัตรมงคล แน่นหนา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  3. กรอบการวิเคราะห์โครงการกรอบการวิเคราะห์โครงการ • วิเคราะห์นโยบาย/ยุทธศาสตร์ประเทศ • วิเคราะห์ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ • วิเคราะห์โครงการ • วิเคราะห์ผลลัพธ์สูงสุด(ผลกระทบ) ผลลัพธ์ ผลผลิต กิจกรรม(กระบวนการ) ทรัพยากร • วิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ • วิเคราะห์ความคุ้มค่าของโครงการ • การวิเคราะห์ผลประโยชน์และการลงทุน • การวิเคราะห์ความเสี่ยง

  4. การวิเคราะห์ความเชื่อมโยงของนโยบาย แผน และโครงการ นโยบาย เป็นแนวทาง/ทิศทางในการดำเนินงานของประเทศ ยุทธศาสตร์ เป็นแนวทางที่มีความเฉพาะเจาะจงขององค์กรภาครัฐระดับกระทรวง ที่จัดทำขึ้นให้สอดคล้องกับนโยบาย กลยุทธ์ เป็นแนวทางที่มีความเฉพาะเจาะจงในระดับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ที่จัดทำขึ้นให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ โครงการ เป็นรายละเอียดของการดำเนินงาน ที่แปลงกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ 4

  5. การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางเทคนิคหรือวิชาการ • ขั้นตอนในการดำเนินงาน • การใช้ความรู้ เทคนิค เทคโนโลยีในแต่ละขั้นตอน • ความพร้อมและความเหมาะสมของเทคโนโลยี เครื่องมือ อุปกรณ์ • ความเพียงพอและการสนับสนุน ในกรณีที่ต้องปรับเทคโนโลยีหรือการสนับสนุนอุปกรณ์อะไหล่ • แหล่งที่มาและความเพียงพอของวัตถุดิบ • ทำเลที่ตั้งและความพร้อมของสาธารณูปโภค • แนวทางในการวิจัยพัฒนา เพื่อประสิทธิภาพ คุณภาพ และการแข่งขัน

  6. การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ด้านการจัดการ • การสนองตอบตอบต่อกลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ นโยบาย • การพิจารณาด้านกฎหมาย ระเบียบแบบแผนที่เกี่ยวข้อง • การพิจารณาศักยภาพ และความสามารถในเชิงเปรียบเทียบ • ความเหมาะสมในการจัดโครงสร้างองค์การ • การจัดวางระบบการบริหารงานบุคคล • การจัดระบบการควบคุม ระบบสารสนเทศ ระบบการสื่อสาร ระบบอำนาจหน้าที่ • การจัดการด้านคุณภาพ บริหารเวลา ด้านการเงิน • การได้รับการสนับสนุนจากองค์กรต่างๆ

  7. การวิเคราะห์ทางสังคมและการเมือง • ผลลัพธ์และผลกระทบต่อปัจจัยทางสังคม( การศึกษา สาธารณสุข วัฒนธรรม วิถีชีวิตฯลฯ) • ผลลัพธ์และผลกระทบต่อการเมือง ( การกระจายผลประโยชน์ กลุ่มได้ประโยชน์ กลุ่มเสียประโยชน์) • การคาดการล่วงหน้าถึงโอกาสที่สังคมจะคัดค้าน • การวิเคราะห์กฎหมาย กฎเกณฑ์ ระเบียบ นโยบาย พลังทางการเมืองที่อาจต่อต้าน

  8. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและภาวะนิเวศน์ • สภาพพื้นที่และสภาพธรรมชาติ • แนวทางในการจัดการเกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ • มลภาวะที่เกิดจากการใช้วัตถุดิบ • การวิเคราะห์วิธีการดำเนินการด้านนี้ที่วางไว้เป็นเงื่อนไขและมาตรการ สอดคล้องกับกฎเกณฑ์ของภาครัฐหรือไม่ • การประเมินผลกระทบของสภาพแวดล้อมในภาพรวม (environmental impact assessment)

  9. การวิเคราะห์ด้านการเงิน • การใช้งบประมาณในการดำเนินการ • แหล่งที่มาของงบประมาณ • แผนการใช้เงิน การกู้ยืม การใช้คืน • การวางระบบบัญชีและรายงานทางการเงิน • การวิเคราะห์รายได้เมื่อเปรียบเทียบกับค่าใช้จ่าย

  10. การวิเคราะห์ทางเศรษฐกิจ • ระยะเวลาการคืนทุน • มูลค่ารวมเมื่อคิดเป็นค่าปัจจุบันสุทธิ • อัตราผลตอบแทนภายใน • อัตราผลตอบแทนเมื่อเทียบกับค่าใช้จ่าย • การวิเคราะห์ผลของโครงการต่อ การจ้างงาน การออมและการลงทุนด้านอื่นๆ การสร้างโอกาสในการกระจายบริการและอื่นๆ ผลลัพธ์ต่อการกระจายรายได้ ค่าสูญเสียโอกาสต่างๆ • การวิเคราะห์ผลลัพธ์และผลกระทบต่อเศรษฐกิจและการค้าระหว่างประเทศ

  11. ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ผลกระทบ กรอบการประเมินความคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ / เป้าหมาย ความพึงพอใจของผู้รับบริการ ความสอดคล้องในการใช้ทรัพยากร / กระบวนการทำงาน / ผลิตภาพ ผลสืบเนื่องจากการปฏิบัติภารกิจ ตามที่คาดหมายและไม่ คาดหมาย

  12. Performance Audit - INTOSAI’s Model Commitment Purpose defined Output Services provided Outcome Objective met Input Resources assigned Action/ Production Action done ประสิทธิผล ความสำเร็จในการตอบสนองต่อจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ที่กำหนด ประหยัด ทำให้ค่าใช้จ่ายในการใช้ปัจจัยนำเข้าลดลง ประสิทธิภาพ ผลิตสินค้าหรือบริการให้ได้มากที่สุดจากทรัพยากรเท่าที่มีอยู่อย่างจำกัด ที่มา : INTOSAI, Implementation Guidelines for Performance Auditing: Standards and guidelines for performance auditing based on INTOSAI’s auditing standards and practical experience, p.14. (อ้างอิงโดยสถาบันนโยบายและการจัดการ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : ที่ปรึกษาโครงการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐและการจัดทำรายงานการดำเนินงานของรัฐต่อสาธารณะ)

  13. ขอบเขตการประเมินความคุ้มค่าขอบเขตการประเมินความคุ้มค่า หน่วยการประเมิน ภารกิจที่ต้องประเมิน ภารกิจหลัก/งานหลัก ๏ บริการสาธารณะ ๏ บริการด้านการพัฒนา/ ความมั่นคง หน่วยงาน ระดับกระทรวง • สำนักงานปลัดกระทรวง • กรมโยธาธิการและผังเมือง • กรมการปกครอง • กรมการพัฒนาชุมชน • กรมที่ดิน • กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย • กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ผลผลิตหลัก โครงการที่สำคัญต่อภารกิจ

  14. ตัวชี้วัดการประเมินความคุ้มค่าตัวชี้วัดการประเมินความคุ้มค่า ตัวชี้วัดเพิ่มเติม ตัวชี้วัดหลัก ภารกิจ บริการสาธารณะ (ประชาชนได้ประโยชน์โดยตรง) ประสิทธิภาพ ๏ต้นทุนต่อหน่วย ๏ สัดส่วนผลผลิตต่อทรัพยากร ๏ สัดส่วนค่าใช้จ่ายจริงต่อค่าใช้จ่ายตามแผน ประสิทธิผลของค่าใช้จ่าย (Cost-Effectiveness) ประสิทธิผล ๏ความสำเร็จในการบรรลุวัตถุประสงค์/เป้าหมาย ๏ ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้ประโยชน์ ๏ คุณภาพการให้บริการ บริการด้านการพัฒนาและความมั่นคง (ประชาชนได้ประโยชน์โดยอ้อม) ผลกระทบ๏ต่อประชาชน ๏ ต่อเศรษฐกิจ ๏ ต่อสังคม ๏ ต่อสิ่งแวดล้อม ผลสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้งบประมาณ ๏ ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้ งบประมาณ (PART) ประเมินทั้ง 4 ประเด็น Benefit-Cost Ratio ภารกิจที่เป็นโครงการ

  15. การวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายและผลตอบแทนโครงการการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายและผลตอบแทนโครงการ

  16. การวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายโครงการการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายโครงการ ประเภทของค่าใช้จ่าย 1. ค่าใช้จ่ายในการลงทุน (Investment costs) : มูลค่าของการ ใช้ปัจจัยนำเข้าเพื่อสร้างสิ่งอำนวยความสะดวก หรือ เป็นฐานของการผลิต ผลผลิต เช่น ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง 2. ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานและบำรุงรักษา : มูลค่าของการใช้ปัจจัยนำเข้า เพื่อดำเนินงานและบำรุงรักษาโครงการ เช่น ค่าแรงงาน วัตถุดิบ ค่าไฟฟ้า น้ำประปา 3. ค่าใช้จ่ายทางอ้อมอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับโครงการ เช่นค่าบำบัดน้ำเสีย

  17. การตีราคาค่าใช้จ่าย ราคาตลาด : ราคาที่กำหนดโดยเปิดเผย ราคาเงา (Shadow prices) : ราคาที่ควรจะเป็นในระบบเศรษฐกิจที่มีดุลยภาพ ภายใต้การแข่งขันที่สมบูรณ์ หรือราคาที่สะท้อนถึงค่าเสียโอกาสของการใช้ปัจจัยการผลิต (Opportunity cost)

  18. การวิเคราะห์ผลตอบแทนของโครงการการวิเคราะห์ผลตอบแทนของโครงการ ผลผลิตของโครงการ : ผลผลิตทั้งหมดของโครงการ รวมถึงกิจกรรมส่วนควบอื่น ซึ่งจะไม่มีผลผลิตเลย หากไม่มีโครงการ

  19. ประเภทของผลตอบแทนของโครงการประเภทของผลตอบแทนของโครงการ 1. ผลตอบแทนทางตรง (Direct benefits) หรือ ผลตอบแทนขั้นต้น (Primary benefits): มูลค่าของสินค้าและบริการที่ผลิตได้โดยตรงจากโครงการ 2. ผลตอบแทนทางอ้อม (Indirect benefits) หรือ ผลตอบแทนขั้นรอง (Secondary benefits) : มูลค่าของสินค้าและบริการที่ได้เพิ่มขึ้นจากกิจกรรมส่วนควบอื่นๆ หรือ เป็นผลตอบแทนที่เกิดขึ้นภายนอกโครงการ

  20. ผลตอบแทนทางตรง ผลผลิตสุทธิของโครงการ : สินค้าและบริการที่โครงการผลิตให้แก่ระบบเศรษฐกิจ (เพิ่มอุปทาน) 1. สินค้าเพื่อการบริโภคขั้นสุดท้าย 2. สินค้าขั้นกลางเพื่อการผลิตต่อ 3. เงินตราต่างประเทศ

  21. ผลตอบแทนทางตรงของโครงการด้านการเกษตรผลตอบแทนทางตรงของโครงการด้านการเกษตร การเพิ่มมูลค่าผลผลิตออก 1. ด้านกายภาพ เช่นพืชผล ปศุสัตว์ 2. ด้านคุณภาพ เช่นพืชผลจากโครงการสามารถขายในราคาสูงขึ้น 3. ด้านเวลาและสถานที่ เช่นโครงการสร้างยุ้งฉางเก็บข้าวทำให้เกษตรกรเก็บข้าวไว้ขายในช่วงที่ราคาดี 4. ด้านรูปลักษณะ เช่นโครงการเงินกู้เพื่อการแปรรูปผลผลิตการเกษตร การลดต้นทุนหรือค่าใช้จ่าย 1. โดยการใช้เครื่องทุ่นแรง 2. ด้านการขนส่ง 3. การลดความสูญเสียของผลผลิต ผลตอบแทนทางตรงอื่นๆเช่นโครงการให้การศึกษา

  22. ผลตอบแทนทางอ้อม ผลตอบแทนอันเกิดจากผลทางตรงชักนำให้เกิดขึ้น 1. ความสัมพันธ์ไปข้างหน้า (Forward linkage or stemming from)เช่นโครงการชลประทาน ก่อให้เกิดผลตอบแทนทางตรงคือการเพิ่มมูลค่าข้าว ตามมาด้วยพ่อค้าข้าว การขนส่ง โรงสีข้าว ฯลฯ 2. ความสัมพันธ์ไปข้างหลัง (Backward linkage or induced) ผู้ประกอบการด้านปัจจัยในการผลิตข้าว

  23. ผลตอบแทนที่ไม่มีตัวตน (Intangible benefits) :ผลตอบแทนที่ไม่มีตัวตน เช่นการเพิ่มหรือลดความแออัด อนามัย ค่าของเวลา ค่าของชีวิต

  24. การตีราคาผลตอบแทน ผลผลิตที่ตีค่าได้โดยตรง โดยเอาปริมาณคูณด้วยราคาผลผลิต - การแข่งขันสมบูรณ์ใช้ราคาตลาด - การแข่งขันไม่สมบูรณ์ใช้ราคาที่ผู้ซื้อเต็มใจจ่าย การตีราคาโครงการขนาดใหญ่ : ผลผลิตออกมาจำนวนมาก - ใช้แนวคิดส่วนเกินของผู้บริโภค (Consumers’ surplus) เข้ามาใช้วิเคราะห์ : ส่วนเกินของผู้บริโภคเป็นเครื่องวัดความแตกต่างระหว่างราคาที่ผู้บริโภคเต็มใจจะจ่ายสำหรับผลผลิตกับราคาที่จ่ายจริง

  25. การตีราคาผลตอบแทนที่ไม่มีตัวตนการตีราคาผลตอบแทนที่ไม่มีตัวตน โดยการประยุกต์หลักการชดเชยที่แตกต่างกัน (Compensating variation) หรือการชดเชยงานได้ในอนาคตที่สูญเสียไป - หลักประสิทธิภาพการผลิต (Productivity): มูลค่าของผลตอบแทนที่ไม่มีตัวตนอาจ ประมาณการได้จากรายได้ที่สูญเสียไป หรือรายได้เพิ่มที่ควรได้รับ - หลักประกัน : มูลค่าของผลตอบแทนจากเงินที่ประชาชนประกันความเสี่ยงไว้ - หลักอุปมา : การเทียบเคียงกับสิ่งที่ประชาชนเคยประสบมา - หลักค่าใช้จ่ายต่ำสุด เป็นการหลีกเลี่ยงที่จะตีราคาผลตอบแทน แต่ใช้การเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายในทางเลือกต่างๆ แล้วเลือกทางเลือกที่เกิดค่าใช้จ่ายต่ำสุด

  26. เทคนิคการวิเคราะห์ผลตอบแทนกับการลงทุนเทคนิคการวิเคราะห์ผลตอบแทนกับการลงทุน การตัดสินใจแบบไม่ต้องปรับค่าของเวลา 1. การตรวจสอบอย่างง่ายๆ (Ranking by inspection): ผู้วิเคราะห์ประเมินจากข้อมูลเบื้องต้น ระยะคืนทุน (Payback period): ระยะเวลาที่ผลตอบแทนสุทธิจากการดำเนินงานมีค่าเท่ากับค่าลงทุนของโครงการ ระยะเวลาคืนทุน = ค่าใช้จ่ายในการลงทุน /ผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ยต่อปี

  27. อัตราผลตอบแทนต่อการลงทุน : ร้อยละของผลตอบแทนสุทธิของการดำเนินงานต่อการลงทุน อัตราผลตอบแทนต่อการลงทุน = ผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ยจากการดำเนินงาน x 100 ค่าลงทุน = 18,571.43 x 100 100,000 = 18.57%

  28. การตัดสินใจแบบปรับค่าของเวลาการตัดสินใจแบบปรับค่าของเวลา ความสำคัญของเวลา - โครงการที่มีอายุมากกว่า 1 ปี - ผลตอบแทน และค่าใช้จ่าย ในแต่ละปีไม่เท่ากัน

  29. การหามูลค่าปัจจุบัน - กำหนดอัตราส่วนลด (Discount rate) จากค่าเสียโอกาสของทุน หรือ 8-15 % - หาตัวร่วมส่วนลด PWF (Single payment present worth factor) จากตาราง Discount factor - นำไปคูณกับผลตอบแทนและค่าใช้จ่าย

  30. มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net present value method หรือ NPV): ผลรวมของผลตอบแทนสุทธิที่ได้ปรับค่าของเวลาแล้วของโครงการ NPV ≥ 0 โครงการคุ้มค่า NPV < 0 โครงการไม่คุ้มค่า

  31. 2. อัตราผลตอบแทนต่อค่าใช้จ่าย (Benefit Cost ratio หรือ B/C ratio): อัตราส่วนระหว่างมูลค่าปัจจุบันของผลตอบแทนกับมูลค่าปัจจุบันของค่าใช้จ่ายตลอดอายุโครงการ B/C ≥ 1 โครงการคุ้มค่า B/C< 1 โครงการไม่คุ้มค่า

  32. การวิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการตามแนวทางก.พร.การวิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการตามแนวทางก.พร.

  33. การวิเคราะห์ การวิเคราะหความเสี่ยงเริ่มตนจากการระบุถึงความเสี่ยงที่สําคัญที่จะเกิดขึ้น โดยมีแนวทางหรือกรอบแนวคิดในการระบุความเสี่ยง (Risk Identification) ไวดังตารางที่ 1 โดยในการระบุความเสี่ยงนั้นจะต้องพิจารณาในแงของความเสี่ยงที่สําคัญที่จะทําให โครงการไมประสบผลสําเร็จ

  34. ตารางที่ 1 กรอบแนวคิดการระบุความเสี่ยงที่สําคัญ

  35. ตารางที่ 1 กรอบแนวคิดการระบุความเสี่ยงที่สําคัญ (ต่อ)

  36. ตารางที่ 1 กรอบแนวคิดการระบุความเสี่ยงที่สําคัญ (ต่อ)

  37. นอกเหนือจากกรอบการระบุความเสี่ยงตามตารางที่ 1แลว ยังสามารถพิจารณาความเสี่ยงในอีกมุมมองหนึ่ง นั่นคือการนําเอากระบวนการผลผลิตและผลลัพธเปนตัวตั้ง โดยจะต้องนําขอมูลเรื่องของขั้นตอน / กระบวนการผลผลิต และผลลัพธ จากที่ได้วิเคราะหไวกอนหนานี้ มาเปนตัวพิจารณาวา จะมีความเสี่ยงใดบาง ที่จะสงผลกระทบตอการดําเนินงานของโครงการในแตละขั้นตอน หรือตอการไดมาซึ่งผลผลิตของโครงการ หรือ ตอการนําไปสู่ผลลัพธของโครงการ ดังแนวทางในตารางที่ 2

  38. ตารางที่ 2 การระบุความเสี่ยงตามกระบวนการ ผลผลิต ผลลัพธ์

  39. เมื่อระบุความเสี่ยงไดแลว จะตองพิจารณาวาความเสี่ยงดังกลาวมีระดับของความเปนไปได้ (Likelihood) และความรุนแรงมากนอยเพียงใด โดยนําความเสี่ยงแตละประการมาพิจารณาตามตารางที่ 3

  40. ตารางที่ 3 ความเปนไปไดและความรุนแรงของความเสี่ยง

  41. สําหรับเกรดที่ไดจากการพิจารณาความเปนไปไดและความรุนแรงนั้น มีแนวทางในการปฏิบัติตอความเสี่ยงนั้นๆ ดังตารางที่ 4

  42. ตารางที่ 4 แนวทางในการปฏิบัติตอความเสี่ยงในแตละเกรด

  43. จากนั้นจะตองมีการกําหนดแนวทางในการบริหารความเสี่ยงที่ จะเกิดขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งความเสี่ยงที่ไดเกรด A – C พร้อมทั้งกําหนดผูรับผิดชอบ และตนทุนที่จะตองใชใหชัดเจน ดังตารางที่ 5

  44. ตารางที่ 5 แนวทางในการบริหารความเสี่ยง

  45. ผลที่ไดจากการวิเคราะห์ผลที่ไดจากการวิเคราะห์ การวิเคราะหความเสี่ยงจะเปนการทําใหผูที่เกี่ยวของไดมีการคิดเตรียมการลวงหน้าถึงปจจัยตางๆ ที่จะเปนปญหาและอุปสรรคต่อความสําเร็จของโครงการ พรอมทั้งทําใหหาแนวทางในการลดหรือ บรรเทาปญหาเหลานั้น เพื่อใหสุดทายแลวโครงการสามารถประสบความสําเร็จตามที่มุงหวัง

  46. ตัวอย่าง

More Related