1.3k likes | 3.92k Views
โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ของภาคีเครือข่ายงานผู้สูงอายุ ในพื้นที่เขต 12 โรงแรมบีพีแกรนด์ทาวเวอร์ หาดใหญ่ สงขลา. แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากรผู้สูงอายุไทย. สุวิณี วิวัฒน์วานิช จิราพร เกศพิชญวัฒนา คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถานการณ์และแนวโน้ม.
E N D
โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวโครงการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ของภาคีเครือข่ายงานผู้สูงอายุ ในพื้นที่เขต 12 โรงแรมบีพีแกรนด์ทาวเวอร์ หาดใหญ่ สงขลา แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากรผู้สูงอายุไทย สุวิณี วิวัฒน์วานิช จิราพร เกศพิชญวัฒนา คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สถานการณ์และแนวโน้ม • โครงสร้างประชากร • ผู้สูงอายุและผู้ดูแลในครอบครัว • ผู้สูงอายุและสุขภาพ ความต้องการการดูแล
สถานการณ์และแนวโน้มโครงสร้างประชากรสถานการณ์และแนวโน้มโครงสร้างประชากร
พีระมิดประชากรไทย พ.ศ. 2513 - 2573 พ.ศ. 2513 พ.ศ. 2573 พ.ศ. 2533 พ.ศ. 2553 ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง แหล่งข้อมูล : พ.ศ. 2513, 2533 สำมะโนประชากรและเคหะ, สำนักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ. 2553, 2573 การฉายภาพประชากรของประเทศไทย, สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ที่มา: ปราโมทย์ ประสาทกุล 2550
ระเบิดประชากรลูกที่ 1: ประชากรรุ่นเกิดล้าน(พ.ศ. 2506 – 2526) “ประชากรรุ่นเกิดล้าน” ปัจจุบันอายุ 24 – 44 ปี ที่มา: ปราโมทย์ ประสาทกุล และ ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์ “สถานการณ์ประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2548” ใน กฤตยา อาชวนิจกุล และ ปราโมทย์ ประสาทกุล (บรรณาธิการ).2548.
ระเบิด ประชากรสูงวัย สังคมสูงอายุ ระเบิดประชากรลูกที่ 2:การเพิ่มขึ้นของประชากรสูงวัย ร้อยละของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป (ต่อประชากรทั้งหมด )
จำนวน (ล้านคน) 26.9 % 25.1 % 23.0 % 22.7 % 20.7 % 19.8 % 19.0 % 16.8 % 17.2 % 16.0 % 64.1% 62.2% 60.5% 66.0% 67.0% 66.7% 67.4% 15.1 % 14.4 % 14.0 % 13.8 % 11.8 % 10.3 % ปี พ.ศ. ประชากรวัยเด็กและผู้สูงอายุ พ.ศ. 2548 - 2583
Facts and Figures • จำนวนประชากรทั้งประเทศ 63,396,000คน • ชาย 31,241,000คน หญิง 32,155,000คน • ประชากรสูงอายุ 7,274,000คน คิดเป็นร้อยละ 11.16 ของประชากรทั้งประเทศ สารประชากร มหาวิทยาลัยมหิดล ปีที่ 18, กรกฎาคม 2552
ข้อมูลล่าสุดอายุขัยเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดของประชากรไทยชาย 69.5 ปีหญิง 76.3 ปี
อายุคาดเฉลี่ยเมื่ออายุ 60 ปีจำแนกตามภาค เพศ พศ. 2548-2549 ที่มา:สำรวจการเปลี่ยนแปลงประชากร พศ.2548-2549 สำนักงานสถิติแห่งชาติ
พ.ศ.2567 ไทยจะมีประชากรสูงอายุเพิ่มเป็น 13.7 ล้านคน โดยเฉพาะกลุ่มที่อายุมากกว่า 80 ปีจะเพิ่มอีกเกือบ 3 เท่า เป็น 1.8 ล้านคนขนาดครอบครัวไทย 3.5 คนต่อครอบครัว
ปัจจัยการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรปัจจัยการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร 1) การลดลงของอัตราการเจริญพันธุ์ 2) การลดลงของอัตราตายทารก (Infant Mortality Rate) 3) อายุคาดหวังเฉลี่ยของประชากรไทยเพิ่มขึ้น 4) ประชากรที่เป็นคนเมืองเพิ่มขึ้น
4) ผู้สูงอายุอายุมาก (Old old, Oldest old) คือ อายุ 80 ปีขึ้นเพิ่มมากขึ้น 5) ผู้สูงอายุหญิง > ผู้สูงอายุชาย 6) จำนวนคนโสด หย่าหรือแยกเพิ่มขึ้น 7) ขนาดครอบครัวเล็กลง 8) การย้ายถิ่นประชากรเพิ่มขึ้น วงเวียนชีวิต
ตัวชี้วัดของการสูงอายุทางประชากรของไทยตัวชี้วัดของการสูงอายุทางประชากรของไทย ที่มา: สำมะโนประชากรประเทศไทย 1960 – 1990; สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 2550 การคาดประมาณประชากรประเทศไทย 2543 -2573
ลักษณะทางประชากรและสังคม ของประชากรอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ประเทศไทย 2550 ที่มา: นภาพร ชโยวรรณ,“สถานการณ์ผู้สูงอายุในประเทศไทย” 2551
อายุคาดหวัง (LE) อายุคาดหวังที่ยังดูแลตนเองได้ (ALE) จำนวนปีที่มีชีวิตในสภาวะพึ่งพาจำแนกตาม เพศ ปี พ.ศ.2545 และปี พ.ศ.2550 ที่มา: นภาพร ชโยวรรณ “สถานการณ์ผู้สูงอายุในประเทศไทย” 2551
ประเทศไทย การปันผลทางประชากร อาจเกิดปัญหาการแข่งขันงาน ระหว่างคนต่างรุ่นอายุ ปี
สรุปลักษณะทางประชากร เศรษฐกิจและสังคม ของผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2550 • อายุ: • ประชากรสูงอายุไทยส่วนใหญ่ (ร้อยละ 59) ยังเป็นผู้สูงอายุที่อายุน้อย คือ อายุ 60-69 ปี ประมาณร้อยละ 10 อายุ 80+ • โครงสร้างทางอายุของประชากรสูงอายุไม่แตกต่างกันมากระหว่างเขตเมืองกับเขตชนบท • เพศ: • ประชากรสูงอายุ ประกอบด้วยหญิงมากกว่าชาย (55% กับ 45%) • เพศชายมีสัดส่วนที่เป็นผู้สูงอายุที่อายุน้อย ( 60-69 ปี) มากกว่าแต่มีสัดส่วนที่เป็นผู้สูงอายุอายุมาก (80+) น้อยกว่าเพศหญิง • เขตที่พักอาศัย: • ส่วนใหญ่ (71%) อยู่ในชนบท ร้อยละ 29 อยู่ในเมือง
สรุปลักษณะทางประชากร เศรษฐกิจและสังคม ของผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2550 • สถานภาพสมรส: • ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 62) มีคู่สมรส ร้อยละ 32 เป็นหม้าย ร้อยละ 2 หย่า/แยก และร้อยละ 3 เป็นโสด • ผู้สูงอายุที่อายุมาก (70+) เป็นหม้ายมากกว่าผู้สูงอายุที่อายุน้อย (47% กับ 22%) • ผู้สูงอายุชายส่วนใหญ่ (83%) มีคู่สมรส • ผู้สูงอายุหญิง มีสัดส่วนที่มีคู่สมรสกับเป็นหม้ายพอๆ กัน (ร้อยละ 46 มีคู่สมรส ร้อยละ 47 เป็นหม้าย) • ผู้สูงอายุหญิงมีสัดส่วนที่เป็นโสด กับหย่า/แยกสูงกว่าผู้สูงอายุชาย(4% vs. 2% กับ 3% vs. 2%) • ผู้สูงอายุในเมือง มีคนโสด หม้าย กับหย่า/แยกมากกว่าผู้สูงอายุในชนบท • ร้อยละ 64 ของผู้สูงอายุในชนบทมีคู่สมรส
สรุปลักษณะทางประชากร เศรษฐกิจและสังคม ของผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2550 • การศึกษา: • ร้อยละ 16 ไม่ได้เรียนหนังสือ ร้อยละ 76 อ่านออกเขียนได้ • ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 74) มีการศึกษาระดับประถม • ผู้สูงอายุที่อายุน้อย มีการศึกษามากกว่าผู้สูงอายุที่อายุมาก • ผู้สูงอายุชาย มีการศึกษามากกว่าผู้สูงอายุหญิง • ผู้สูงอายุในเมือง มีการศึกษามากกว่าผู้สูงอายุในชนบท • ภาวะสุขภาพ: • สุขภาพที่ประเมินตนเองดีขึ้น • สัดส่วนที่อยู่ในภาวะทุพพลภาพเพิ่มขึ้น • จำนวนปีที่ต้องอยู่อย่างพึ่งพาเพิ่มขึ้น • ผู้สูงอายุหญิงมีปัญหาสุขภาพมากกว่าชาย
สถานการณ์และแนวโน้ม ผู้สูงอายุและผู้ดูแลในครอบครัว
ผู้สูงอายุในอนาคตจะมีบุตรจำนวนน้อยลงที่จะมาให้การเกื้อหนุนผู้สูงอายุในอนาคตจะมีบุตรจำนวนน้อยลงที่จะมาให้การเกื้อหนุน จำนวนบุตรเฉลี่ยที่มีชีวิตปี2550 ชนบท รวม เมือง
การอยู่คนเดียวหรืออยู่กับคู่สมรสเท่านั้นมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นการอยู่คนเดียวหรืออยู่กับคู่สมรสเท่านั้นมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น % อยู่คนเดียว % อยู่กับคู่สมรสเท่านั้น
ที่มา: นภาพร ชโยวรรณ “สถานการณ์ผู้สูงอายุในประเทศไทย” 2551 ร้อยละของผู้สูงอายุที่คิดว่าควรเตรียมการเพื่อวัยสูงอายุ ร้อยละที่ได้เตรียมการแต่ละด้าน และร้อยละที่ได้เริ่มทำการเตรียมการก่อนอายุ 55 ปี จำแนกตามอายุ เพศ และเขตที่อาศัย ประเทศไทย 2550
สถานการณ์และแนวโน้ม ผู้สูงอายุและสุขภาพ ความต้องการการดูแล
ที่มา: การสำรวจภาวะสุขภาพผู้สูงอายุไทย 4 ภาค สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 2549
ภาวะสุขภาพจากการประเมินตนเองมีแนวโน้มดีขึ้นภาวะสุขภาพจากการประเมินตนเองมีแนวโน้มดีขึ้น 2537 2545 2550 รวม อายุ 60-69 อายุ70+ ที่มา: นภาพร ชโยวรรณ “สถานการณ์ผู้สูงอายุในประเทศไทย”2551
ที่มา : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546 -2550 สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ที่มา : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546 -2550 สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ที่มา: การสำรวจภาวะสุขภาพผู้สูงอายุไทย4ภาค สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 2549
ที่มา: การสำรวจภาวะสุขภาพผู้สูงอายุไทย4ภาค สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 2549
หมายเหตุ : อื่นๆ ประกอบด้วย เพื่อน / เพื่อนบ้าน / คนรู้จัก / พยาบาล / ผู้ช่วยพยาบาล / คนรับใช้ / ลูกจ้าง ที่มา : สำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทยพ.ศ. 2550 สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ที่มา: การสำรวจภาวะสุขภาพผู้สูงอายุไทย4ภาค สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 2549
จำนวนผู้สูงอายุไทยที่มีภาวะสมองเสื่อมระหว่างปี พศ. 2543 - 2563 2553 2558 2548 2543 2563 Source: Jitapunkul, S., et al, 2001b
แบบแผนการเจ็บป่วย ปัจจัยเสี่ยง โรคเรื้อรัง พันธุกรรม วิถีชีวิต บุหรี่ ออกกำลังกาย อาหาร แอลกอฮอลล์ สิ่งแวดล้อม ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง อ้วน อุบัติเหตุ หกล้ม • อัมพฤกษ์ • อัมพาต • ช่วยตัวเองไม่ได้ • สมองเสื่อม • ซึมเศร้า การดูแลระยะยาว
ประเด็นสำคัญที่เกี่ยวกับประชากรสูงอายุประเด็นสำคัญที่เกี่ยวกับประชากรสูงอายุ • ภาวะการเปลี่ยนแปลงทางสุขภาพ ระบบบริการ • การเจ็บป่วยจากพฤติกรรม • การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง นำไปสู่ภาวะพึ่งพา • ความก้าวหน้าทางการแพทย์ เทคโนโลยี่การรักษา • ข้อจำกัดทางทรัพยากร ต้นทุนการดูแล การรักษา
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ • กลุ่มที่ 2 มีโรคเรื้อรัง / ช่วยเหลือตัวเองได้ กลุ่มที่ 1 สุขภาพดี ไม่มีปัญหาสุขภาพ กลุ่มที่ 3 เริ่มมีภาวะพึ่งพา/ ช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง กลุ่มที่ 4 ภาวะทุพพลภาพ / ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้
เราพร้อมหรือยังที่เข้าสู่....สังคมวัยวุฒิ สังคม ส.ว.