270 likes | 451 Views
หัวข้อ และโครงร่างการค้นคว้าแบบ อิสระ หลักสูตร การจัดการความรู้ วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต วิทยาลัยศิลปะ สื่อ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 1. ชื่อและนามสกุล. ว่า ที่ร้อยตรีรัชต์พงษ์ หอ ชัยรัตน์ รหัส 542132031 Acting Sub Lt. Ratchapong Hochairat Code 542132031.
E N D
หัวข้อและโครงร่างการค้นคว้าแบบอิสระหัวข้อและโครงร่างการค้นคว้าแบบอิสระ หลักสูตรการจัดการความรู้วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต วิทยาลัยศิลปะ สื่อ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
1. ชื่อและนามสกุล ว่าที่ร้อยตรีรัชต์พงษ์ หอชัยรัตน์ รหัส 542132031 Acting Sub Lt. Ratchapong Hochairat Code 542132031
2. ชื่อเรื่องการค้นคว้าแบบอิสระ 2.1 ภาษาไทย : การพัฒนาระบบสารสนเทศ คลังความรู้ชุมชน เพื่อการจัดการความรู้ เรื่อง บ้านหลังน้ำลด ของจังหวัดเชียงใหม่ 2.2 ภาษาอังกฤษ : Development of Information Systems Knowledge Community Center for Knowledge Management after the Flood of Chiangmai Province
3. หลักการ ทฤษฎี เหตุผล และ/หรือสมมติฐาน -การเกิดอุทกภัย น้ำท่วม ในพื้นที่ภาคเหนือ โดยเฉพาะระหว่างเดือนสิงหาคม – ตุลาคม จะเป็นช่วงของฤดูมรสุมที่จะก่อให้เกิดความ เสียหายข้อมูลศูนย์อุทกวิทยาและบริหารน้ำภาคเหนือตอนบน -สถานการณ์น้ำท่วมของจังหวัดเชียงใหม่ เกิดผลกระทบหลายด้าน โดยเฉพาะ บ้านเรือนเสียหาย 1,557 หลัง ข้อมูลสำนักงานป้องกันและบรรเทา สาธารณจังหวัดเชียงใหม่ -หลายหน่วยงานทั้งภาครัฐเอกชน ผู้เชี่ยวชาญ อาสาสมัคร จิตอาสา ต่างพยายาม ที่จะสนับสนุนให้ความรู้ความช่วยเหลือแตกต่างกันไป ตามปัจจัยและความพร้อม
3. หลักการ ทฤษฎี เหตุผล และ/หรือสมมติฐาน
3. หลักการ ทฤษฎี เหตุผล และ/หรือสมมติฐาน -ความรู้หรือการตอบปัญหาอาจจะไม่ครอบคลุม และระบบสารสนเทศความรู้ปัจจุบัน อาจจะมีข้อมูลที่หลากหลาย ไม่มีศูนย์กลางข้อมูลเฉพาะเรื่อง และก็ยังไม่ได้มีการจัดการ ความรู้ที่ดี ทำให้ประชาชนอาจจะได้รับความรู้ไม่ถูกต้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ ของแต่บ้าน อย่างแท้จริง -บ้านเรือนหรือที่อยู่อาศัย ซึ่งเป็นปัจจัยสี่ เป็นสิ่งจำเป็นเร่งด่วน ที่ต้องการฟื้นฟูซ่อมแซม -การจัดการความรู้ จึงเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้บรรลุเป้าหมายและระบบสารสนเทศ มีความสำคัญในการสนับสนุน ในการให้ความรู้แก้ไขปัญหาอย่างถูกวิธี
3. หลักการ ทฤษฎี เหตุผล และ/หรือสมมติฐาน -คลังความรู้ชุมชน มีระบบสารสนเทศด้านการจัดการความรู้ แต่ไม่สมบูรณ์จำเป็นต้องพัฒนา เพื่อประโยชน์ต่อประชาชน ในการรับความรู้ที่ถูกต้อง และเหมาะสม
3. หลักการ ทฤษฎี เหตุผล และ/หรือสมมติฐาน
3. หลักการ ทฤษฎี เหตุผล และ/หรือสมมติฐาน
4. แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • ภายใต้แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ • 4.1 แนวคิดเกี่ยวกับความรู้และการจัดการความรู้ • -ความหมายความรู้ • -แหล่งเก็บความรู้ในองค์การ • -ประเภทของความรู้ • -ระดับความรู้ • -การสร้างความรู้ในองค์การ • -ความหมายของการจัดการความรู้ • -กระบวนการจัดการความรู้ • -องค์ประกอบหลักของการจัดการความรู้ • -ปัจจัยเอื้อที่ทำให้การจัดการความรู้ประสบความสำเร็จ
4. แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • ภายใต้แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ • 4.1 แนวคิดเกี่ยวกับความรู้และการจัดการความรู้ • จากแนวคิดเกี่ยวกับความรู้และการจัดการความรู้ ทำให้เราสามารถรู้ว่าความรู้คืออะไร เราสามารถหาความรู้ได้จากแหล่งใดบ้าง มีความรู้กี่ประเภท แต่ละประเภทเป็นอย่างไร การสร้างความรู้ทำได้อย่างไร แล้วเราสามารถนำมาจัดการความรู้ได้อย่างไร ซึ่งเราสามารถดำเนินการตามกระบวนการจัดการความรู้ 7 กระบวนการที่จะนำมาศึกษา องค์ประกอบหลักของการจัดการความรู้ แบบจำลองปลาทู ทำให้เราได้ทราบว่า เรื่องที่เราจะทำ ทำ KM ไปทำไมให้เราได้วิเคราะห์ดู และอีกอย่างการแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกันก็เป็นหัวใจสำคัญในการทำ KM และสิ่งที่เราได้จัดเก็บและแลกเปลี่ยนความรู้เราสามารถนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการถ่ายทอดและเผยแพร่องค์ความรู้และแลกเปลี่ยนหมุนเวียนได้เช่นกัน ซึ่งมีอยู่หลายปัจจัยที่ทำให้การจัดการความรู้ประสบความสำเร็จ
4. แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • ภายใต้แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ • 4.2 แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ • -ความหมายของระบบสารสนเทศ • -ประเภทของระบบสารสนเทศ • -ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศ • -ขั้นตอนการจัดทำระบบสารสนเทศ • -ประโยชน์ของการจัดทำระบบสารสนเทศ
4. แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • ภายใต้แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ • 4.2 แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ • จากแนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ นั้นทำให้เราได้ทราบถึงประเภทของระบบสารสนเทศ ที่เราจะสามารถวิเคราะห์ได้ว่าเรื่องที่เราได้ศึกษานั้น เป็นระบบสารสนเทศประเภทไหน ส่วนประกอบ ๆ ด้วยอะไรบ้าง ถ้าเราจะทำจะต้องเริ่มต้นที่ขั้นตอนอะไรมีกี่ขั้นตอน แล้วสิ่งที่เราจะพัฒนาระบบสารสนเทศสามารถช่วยก่อให้เกิดประโยชน์ ด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผลได้อย่างไรมากน้อยแค่ไหน
4. แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • ภายใต้แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ • 4.3 แนวคิดเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต • -ความหมายของอินเตอร์เน็ต • -การให้บริการต่างๆ บนอินเตอร์เน็ต
4. แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • ภายใต้แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ • จากแนวคิดเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตที่ได้ศึกษามา จะทำให้เราได้รับรู้ว่าอินเตอร์เน็ตมีความสำคัญในการเผยแพร่และการถ่ายทอดองค์ความรู้ที่เราได้รวบรวมสังเคราะห์ความรู้ให้ถึงประชาชนได้อย่างสะดวกรวดเร็ว และทราบถึงว่ามีการให้บริการบ้างบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต และบริการเหล่านั้นสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับงานที่เราได้ศึกษา มีอะไรบ้างที่เป็นประโยชน์
4. แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • ภายใต้แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ • 4.4 ทบทวนวรรณกรรม • -การนำระบบสารสนเทศมาใช้เพื่อการจัดการความรู้ • -การจัดการความรู้กับการพัฒนางาน และชุมชน • จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องจะเห็นได้ว่า มีผู้ที่ศึกษาได้นำ หลักการของการจัดการความรู้ และระบบสารสนเทศมาพัฒนาก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในองค์กร หน่วยงาน หรือแม้กระทั้งการพัฒนาชุมชน ด้วยเหตุนี้เองผู้ศึกษาจึงได้เห็นประโยชน์จากงานต่างๆ ที่มีผู้ได้ศึกษามาแล้ว จึงได้นำหลักการทฤษฎี ผลงานศึกษานำมาประยุกต์ใช้และพัฒนาต่อยอดให้ก่อเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม ในการศึกษาวิจัยหัวข้อในครั้งนี้
5. วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศ คลังความรู้ชุมชน สำหรับการจัดการความรู้ เรื่อง บ้านหลังน้ำลด ของจังหวัดเชียงใหม่ ให้ตอบสนองความต้องการ ของประชาชน และเป็นศูนย์กลางความรู้ ในการแก้ปัญหา น้ำท่วม เรื่อง บ้านหลังน้ำลด อย่างถูกต้องและเหมาะสมมากขึ้น 2. เพื่อประเมินผลของการใช้ระบบสารสนเทศ คลังความรู้ชุมชน ที่พัฒนาขึ้น
6. ประโยชน์ที่จะได้รับจากการศึกษาเชิงทฤษฎีและ/หรือเชิงประยุกต์ 1. ได้ระบบสารสนเทศ คลังความรู้ชุมชน ที่มีการจัดการความรู้ เรื่อง บ้านหลังน้ำลด ที่ประชาชน สามารถ นำความรู้ไปใช้ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมมากขึ้น 2. มีศูนย์กลางความรู้ เรื่อง บ้านหลังน้ำลด สำหรับการช่วยเหลือฟื้นฟู ผู้ประสบภัย น้ำท่วมหลังน้ำลดแก่ประชาชน หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการนำไปเรียนรู้ และประยุกต์ใช้
6. ประโยชน์ที่จะได้รับจากการศึกษาเชิงทฤษฎีและ/หรือเชิงประยุกต์ 3. มีระบบการเก็บรักษาองค์ความรู้เดิม แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ใหม่ๆ และเพิ่มพูน องค์ความรู้ใหม่ๆในลักษณะของการร่วมมือทางวิชาการ จากนักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญ และผู้มีความรู้ ในความรู้ สำหรับการช่วยเหลือฟื้นฟู ผู้ประสบภัย น้ำท่วมหลังน้ำลด 4. สามารถนำแนวคิดและขั้นตอนไปประยุกต์ใช้เพื่อการวางแผนและกำหนด แนวทางปฏิบัติการในการพัฒนาระบบสารสนเทศ คลังความรู้ชุมชน เพื่อการจัดการความรู้ในเรื่องอื่นๆ ต่อไป
7. ขอบเขตและวิธีการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัย และพัฒนา (Research and Development) การพัฒนาระบบสารสนเทศ คลังความรู้ชุมชน เพื่อการจัดการความรู้ เรื่อง บ้านหลังน้ำลด ของจังหวัดเชียงใหม่ ให้ถูกต้องและเหมาะสม โดยการประยุกต์ขั้นตอนตามแนวคิดการจัดการความรู้ และใช้ระเบียบวิจัยแบบเชิงคุณภาพ(Qualitative research) และกระบวนการขั้นตอนตามแนวคิด 7 ขั้นตอน ของการจัดการความรู้ ได้แก่ การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) การสร้างและแสวงหาความรู้ (KnowledgeCreation and Acquisition) การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) การเรียนรู้ (Leaning)
7. ขอบเขตและวิธีการวิจัย • 1. การบ่งชี้ความรู้ • 2. การสร้าง และแสวงหาความรู้ • 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ • 4. การประมวล และกลั่นกรองความรู้ • 5. การออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการความรู้ • 6. การประเมินคุณภาพสารสนเทศเพื่อการจัดการเรียนรู้ • 7. การนำ ISO 12207 มาเป็นกรอบในการดำเนินกระบวนการทำงาน 15 กิจกรรม
8. สถานที่ที่ใช้ในการดำเนินการวิจัยและรวบรวมข้อมูล ห้องคลังความรู้ชุมชน สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตั้งอยู่เลขที่ 98 หมู่ที่ 8 ตำบลป่าป้อง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่
9. ระยะเวลาในการดำเนินการวิจัย เดือน มีนาคม – กรกฎาคม 2555
10. เอกสารอ้างอิง Marquardt,M. (1996), Building the Learning Organization. New York:McGrawHill, Nonaka,kujiro and Takeuchi,Hirotaka. (2000), Classic work: Theory of Organizational KnowledgeCreation.In Morey, D., Maybury, M.T. and Thuraisingham, B.M. Knowledge Management: Classic and Contemporary Work .Mass: The MIT Press. กรณ์ดนัย วิทยานุการุณ. (2551). การออกแบบสารสนเทศเพื่อการจัดการความรู้เรื่องเรือนกาแล วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สื่อศิลปะและการออกแบบสื่อ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. คลังความรู้สำนักงานชลประทานที่15. 2554. เรื่อง ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://irrigation.rid.go.th/rid15/ (31 ธันวาคม 2554) ดร.ณพศิษฏ์ จักรพิทักษ์. ทฤษฎีการจัดการความรู้. วิทยาลัยศิลปะ สื่อ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2552 ธันยพร วณิชฤทธา. (2550). การจัดการความรู้ในชุมชน: กรณีศึกษาด้านการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ โดยชุมชน มีส่วนร่วม จังหวัดสมุทรสงครามวิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีการศึกษา) มหาวิทยาลัยศิลปากร
10. เอกสารอ้างอิง บุญดี บุญญากิจ และคณะ. การจัดการความรู้ จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ, บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน), 2549. ปณิตา พ้นภัย. การบริหารความรู้ (Knowledge Management) : แนวคิดและกรณีศึกษา. เอกสารวิจัย ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2544 ประพนธ์ ผาสุกยืด. การจัดการความรู้. สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) บริษัท ใยไหม ครีเอทีฟกรุ๊ฟ จำกัด, 2549. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภาสกร เรืองรอง. 2550. เรื่อง อินเทอร์เน็ตคืออะไร. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://www.thaiwbi.com/course/internet/internet.html (31 ธันวาคม 2554) พรธิดา วิเชียรปัญญา. การจัดการความรู้ : พื้นฐานและการประยุกตใช้. กรุงเทพฯ. ธรรกมลการพิมพ์ ,2547 ภคณัฐฌายีเนตร. (2551). การพัฒนาระบบต้นแบบการจัดการความรู้สำหรับฝ่ายบริหาร โครงข่ายจังหวัดลำปาง บริษัท ทีทีแอนด์ที จำกัด (มหาชน) การค้นคว้าแบบอิสระบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. โรงเรียงเม็งรายมหาราชวิทยาคม. 2554. เรื่อง บทเรียนโปรแกรมการเรียนการสอนผ่านเว็บ เรื่องอินเตอร์เน็ต [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://tc.mengrai.ac.th (31 ธันวาคม 2554) วิจารณ์ พานิช. การจัดการความรู้กับการบริหารราชการไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้ เพื่อสังคม, 2548
10. เอกสารอ้างอิง วิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ มหาวิทยาลัยนอร์ท – เชียงใหม่. 2554. เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศ [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://elearning.northcm.ac.th (31 ธันวาคม 2554) ศิริขวัญ ศรีทับทิม. (2552). การพัฒนาระบบการรวบรวมความรู้ ด้านคหกรรมศาสตร์ กรณีศึกษา ภูมิปัญญา ท้องถิ่นจังหวัดกาญจนบุรี การค้นคว้าแบบอิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศ) มหาวิทยาลัยศิลปากร สาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ และเทคโนโลยีสื่อมัลติมีเดีย โรงเรียนบ้านโนนกู่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ขอนแก่น เขต 1. 2554. เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://school.obec.go.th (31 ธันวาคม 2554) สุชาดา กีระนันทน์. (2541). เทคโนโลยีสารสนเทศสถิติ:ข้อมูลในระบบสารสนเทศ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สุรศักดิ์ สันติสถิตพงศ์ (2551). ระบบจัดการความรูสําหรับโครงการ ศูนยพัฒนาเด็กคริสตจักรเวียงทอง การค้นคว้าแบบอิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมซอฟตแวร) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. สำนักงาน ก.พ.ร. และสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. การจัดการความรู้จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ,2548 สำนักงาน ก.พ.ร. และสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. คู่มือจัดทำแผนการจัดการความรู้. กรุงเทพฯ,2548 สำนักงาน ก.พ.ร. คู่มือเทคนิคและวิธีการบริหารจัดการสมัยใหม่ตามแนวทางการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี : การบริหารความรู้. กรุงเทพฯ ,2548 อรวรรณ อุทัยมณีรัตน์. (2551). การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาการปฏิบัติงานด้านกิจการนักศึกษาของ มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ การค้นคว้าแบบอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยาการศึกษาและ การแนะแนว)มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่
10. เอกสารอ้างอิง http://www.kaewpanya.rmutl.ac.th/m2554/