350 likes | 1.15k Views
การยื่นเอกสาร. สำหรับผู้เกษียณอายุราชการ. ข้าราชการที่พ้นราชการเพราะเกษียณอายุ ให้ยื่นคำขอรับบำเหน็จบำนาญต่อจังหวัดที่รับราชการครั้งสุดท้ายล่วงหน้าได้เป็นเวลา 8 เดือน ก่อนวันครบเกษียณอายุราชการ. ปี 2557 จังหวัดอำนาจเจริญมีผู้เกษียณอายุ ข้าราชการ 104 คน ลูกจ้างประจำ 12 คน.
E N D
การยื่นเอกสาร..... สำหรับผู้เกษียณอายุราชการ
ข้าราชการที่พ้นราชการเพราะเกษียณอายุ ให้ยื่นคำขอรับบำเหน็จบำนาญต่อจังหวัดที่รับราชการครั้งสุดท้ายล่วงหน้าได้เป็นเวลา 8 เดือน ก่อนวันครบเกษียณอายุราชการ
ปี 2557 จังหวัดอำนาจเจริญมีผู้เกษียณอายุ ข้าราชการ 104 คน ลูกจ้างประจำ 12 คน • ข้าราชการ • สำนักงานจังหวัด 2 • อุตสาหกรรม 1 • โยธาธิการ 1 • ที่ดิน 2 • พัฒนาชุมชน 2 • สาธารณสุข 4 • บ้านพักเด็กและครอบครัว 1 • เกษตรจังหวัด 5 • สหกรณ์จังหวัด 1 • แขวงการทาง 1 • ข้าราชการ • ตำรวจภูธร 9 • โรงเรียนอำนาจเจริญ 4 • เขตพื้นที่การศึกษาประถม 71 • ลูกจ้างประจำ ชลประทาน 2 แขวงการทาง 5 สาธารณสุข 1 โรงพยาบาล 1 เขตพื้นที่การศึกษาประถม 2 ศูนย์วิจัยและพัฒนาการปศุสัตว์ เขต 3 1
การยื่นเรื่องขอรับเงินสำหรับข้าราชการการยื่นเรื่องขอรับเงินสำหรับข้าราชการ • แบบขอรับบำเหน็จบำนาญ (แบบ 5300) • ใบรับรองสมุดประวัติและเวลาทวีคูณฯ (แบบ 5302) • แบบบัญชีรายชื่อผู้ได้นับเวลาราชการทวีคูณสำหรับกำลังพลสังกัด กอ.รมน.และผู้ปฏิบัติงานในสายงาน กอ.รมน. (แบบ 5304 ก) • หลักฐานการตรวจสอบและรับรองเวลาราชการของ สตช. (แบบ 5305) • ภาพถ่ายบัตรเงินเดือน (บัตรแข็งสีฟ้า) ถ้ามี • สมุดประวัติ หรือแฟ้ม ก.พ. 7 • สำเนาคำสั่งที่ให้ออก หรืออนุญาตให้ออกจากราชการ หรือประกาศเกษียณอายุ
การยื่นเรื่องขอรับเงินสำหรับข้าราชการ (ต่อ) • สำเนาคำสั่งเลื่อนเงินเดือนในวันที่ 30 กันยายน ของปีที่ออกจากราชการ (ส่งแบบ 5316 เพิ่มทีหลังก็ได้) • สำเนาทะเบียนบ้านหน้าที่มีชื่อและเลขประจำตัวประชาชนของผู้มีสิทธิ • สำเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร (ออมทรัพย์ เผื่อเรียก สะสมทรัพย์ กระแสรายวัน ยกเว้นเงินฝากประจำ) เฉพาะหน้าที่มีชื่อธนาคารชื่อผู้มีสิทธิ และเลขที่บัญชีเงินฝากธนาคารของผู้มีสิทธิ • แบบแจ้งรายการลดหย่อนภาษีเงินได้ (แบบ สรจ.1) • หนังสือแสดงเจตนาขอให้โอนเงินบำเหน็จบำนาญเข้าบัญชีเงินฝากของบุคคลอื่น(แบบ สรจ. 2) • หนังสือรับรองการขอรับบำเหน็จดำรงชีพ (แบบ สรจ. 3)
บริการเสริม • แบบแจ้งการขอรับข้อความผ่านโทรศัพท์มือถือ (SMS) หรือผ่านระบบ Internet (e-mail) • ผู้รับบำนาญประสงค์จะให้ทางราชการหักเงินบำเหน็จบำนาญเพื่อชำระหนี้แก่เจ้าหนี้ ให้แสดงเจตนาเป็นหนังสือ ลงลายมือชื่อและแจ้งส่วนราชการผู้เบิก • ช่วงเดือนมกราคมของทุกปี ให้ดาวน์โหลดหนังสือรับรองภาษีหัก ณ ที่จ่ายได้ทาง www.cgd.go.th เมนู บำเหน็จบำนาญ/บำเหน็จค้ำประกัน เมนู หนังสือรับรองภาษีหัก ณ ที่จ่าย
การยื่นเรื่องขอรับเงินสำหรับข้าราชการสมาชิก กบข. • แบบขอรับเงินจากกองทุน กบข. (แบบ กบข. รง 008/1/2555) • แบบแจ้งความประสงค์ให้กองทุนบริหารเงินต่อหรือทยอยรับเงิน (แบบ กบข.บต 001/255.......) • ให้ยื่นเรื่องขอรับเงิน กบข. พร้อมกับการยื่นเรื่องขอรับเงินบำเหน็จบำนาญ ผ่านระบบ e-pensionโดยไม่ต้องส่งเอกสารให้ กบข. อีก • จะต้องเป็นการขอรับเงินด้วยวิธีโอนเงินเข้าบัญชีธนาคารเท่านั้น • เงินหรือผลประโยชน์ที่ได้รับจากกองทุน ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร ฉบับที่ 189 ใช้บังคับตั้งแต่ 1 มกราคม 2553)
ข้าราชการที่เป็นสมาชิก กบข. ถ้ากลับไปเลือกบำเหน็จบำนาญตาม พ.ร.บ. 2494 • ได้คืนเงินสะสม + ดอกผลจากเงินสะสม • ได้คืนตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2558 เป็นต้นไป • แสดงความประสงค์ได้ตั้งแต่วันที่กฎหมายมีผลใช้บังคับ ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2558 • ผู้รับบำนาญต้องเอาเงินประเดิม เงินชดเชย เงินสมทบ+ดอกผลมาคืนโดยหักกลบ ลบกัน ภายใน 30 มิถุนายน 2558
สิ่งที่ข้าราชการบำนาญควรรู้สิ่งที่ข้าราชการบำนาญควรรู้ บำเหน็จข้าราชการ (เหตุสูงอายุ) • เงินเดือนเดือนสุดท้าย*อายุราชการ บำนาญข้าราชการ (เหตุสูงอายุ) เงินเดือนเดือนสุดท้าย*อายุราชการ 50 • บำเหน็จตกทอด 30 เท่าของบำนาญรายเดือน • หรือรับเป็นบำเหน็จดำรงชีพ • หรือบำเหน็จค้ำประกัน ผู้ได้รับบำนาญปกติ - สวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาบุตร อายุครบ 3 ปี แต่ไม่เกิน 25 ปี - สวัสดิการค่ารักษาพยาบาล ตนเอง บุตรยังไม่บรรลุ นิติภาวะ คู่สมรส บิดามารดาของตนเอง
บำเหน็จดำรงชีพ • ผู้รับบำนาญอายุต่ำกว่า 65 ปีบริบูรณ์รับบำเหน็จดำรงชีพไม่เกิน สองแสนบาท • ผู้รับบำนาญอายุตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป กรณียังไม่ได้ใช้สิทธิเลย ให้รับบำเหน็จดำรงชีพได้ไม่เกิน สี่แสนบาท (ถ้าใช้สิทธิไปแล้วก็รับส่วนที่ยังได้ไม่ครบ) จ่ายในอัตรา 15 เท่าของบำนาญรายเดือนแต่ไม่เกิน สี่แสนบาท • ในกรณีไม่ได้ยื่นขอรับบำเหน็จดำรงชีพพร้อมกับการยื่นรับบำนาญ ระยะเวลาการขอรับบำเหน็จดำรงชีพคือ วันที่ 1 ตุลาคม ถึงวันที่ 31 ธันวาคม ของทุกปี
บำเหน็จค้ำประกัน 30 เท่าของบำนาญรายเดือน (ควรรับ 200,000 บาทก่อน) นำไปเป็นหลักทรัพย์ค้ำประกันกับสถาบันการเงิน (ธนาคารที่เข้าร่วมโครงการ 13 แห่ง) โดยยื่นแบบคำร้องขอรับหนังสือรับรองสิทธิในบำเหน็จตกทอดเพื่อใช้เป็นหลักทรัพย์ประกันการกู้เงินที่ส่วนราชการต้นสังกัดทุกจังหวัด
สิ่งที่อยากจะให้ข้าราชการบำนาญทำไว้สิ่งที่อยากจะให้ข้าราชการบำนาญทำไว้ • หนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผู้รับบำเหน็จตกทอด (โดยเฉพาะคนไม่มีทายาทควรจะทำไว้) • หนังสือแสดงเจตนาระบุผู้รับเงินช่วยพิเศษ (จ่ายเพียง 1 คน ลำดับการจ่าย (1) หนังสือแสดงเจตนาไว้ (2) ถ้าไม่ได้ทำหนังสือแสดงเจตนา จะจ่ายแก่คู่สมรส บุตร บิดามารดา ตามลำดับ )
ส่วนราชการผู้ขอ • ส่วนราชการรับเรื่อง • นายทะเบียนบุคลากรภาครัฐปรับฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน ได้แก่ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ หรือ e-mail และแจ้งความประสงค์การขอรับข้อมูลผ่าน sms หรือ e-mail • ผู้ปฏิบัติงานในระบบบำเหน็จบำนาญตรวจหลักฐาน ลงทะเบียนในระบบ และออกใบรับเรื่องให้ผู้มีสิทธิที่ยื่นเรื่องขอรับเงิน • ผู้ปฏิบัติงานในระบบบำเหน็จบำนาญ บันทึกแบบการขอรับบำเหน็จบำนาญพร้อมหลักฐานผ่านระบบบำเหน็จบำนาญ
เอกสารที่ต้องนำส่งไปที่ สำนักงานคลังเขต 3 นครราชสีมา(ไม่ต้องมีหนังสือนำส่ง) 1. แบบขอรับบำเหน็จบำนาญ (แบบ 5300) 2. ใบรับรองสมุดประวัติและเวลาทวีคูณ (แบบ 5302) 2. สมุดประวัติ หรือแฟ้ม ก.พ.7 3. คำสั่งให้ออก หรือประกาศเกษียณอายุ 4. คำสั่งเลื่อนเงินเดือนครั้งหลังสุด • ส่งไปที่ สำนักงานคลังเขต 3 อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000
เมื่อส่วนราชการผู้เบิกได้หนังสือสั่งจ่ายผ่านทางระบบบำเหน็จบำนาญแล้ว ให้ปฏิบัติดังนี้ • ลงทะเบียนขอเบิกในระบบบำเหน็จบำนาญ • บันทึกส่งข้อมูลการขอเบิกให้กรมบัญชีกลาง (สำนักบริหารการรับจ่ายเงินภาครัฐ : สรจ. ) ภายในวันที่กำหนด • พิมพ์รายงาน สรจ.10 จากระบบบำเหน็จบำนาญเสนอผู้บังคับบัญชาลงนาม • การขอเงินบำเหน็จบำนาญเพิ่ม ให้บันทึกการขอรับเช่นเดียวกับการขอรับบำเหน็จบำนาญครั้งแรกจนถึงขั้นตอนการสั่งจ่าย โดยไม่ต้องทำคำขอเบิกเข้ามาในระบบ เนื่องจากระบบจะแจ้ง สรจ. โดยอัตโนมัติ
ส่วนราชการผู้เบิก • ผู้รับบำเหน็จต้องการหักหนี้จากบำเหน็จ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในระบบจะต้องบันทึกข้อมูลในระบบ แบบ สรจ.9 และส่งแบบ สรจ.9 ไปกับแบบคำขอ • ผู้เบิกทำ แบบ สรจ.6 • Load ข้อมูลหนี้เข้าระบบ • ส่งให้ส่วนราชการต้นสังกัด ภายในเวลากำหนด
กรณีมีหลักฐานเพิ่มซึ่งมีผลทำให้รับเงินเพิ่มกรณีมีหลักฐานเพิ่มซึ่งมีผลทำให้รับเงินเพิ่ม • แบบขอรับเงินเพิ่ม บำเหน็จบำนาญ บำเหน็จดำรงชีพ (แบบ 5316) • หนังสือรับรองการขอรับบำเหน็จดำรงชีพ (แบบ สรจ. 3)
สิ่งที่ส่วนราชการต้องรู้สิ่งที่ส่วนราชการต้องรู้ • นายทะเบียนบุคลากรภาครัฐ ตรวจสอบรายชื่อข้าราชการและลูกจ้างประจำที่เกษียณอายุอย่างช้าภายในเดือนกรกฎาคม ของทุกปี (ดูวิธีปฏิบัติที่ กค 0420.7/ว 74 ลงวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2556) • หลังวันที่ 30 กันยายน นายทะเบียนบำเหน็จบำนาญต้องดำเนินการโอนย้ายฐานข้อมูลไปยังส่วนราชการผู้เบิกทันทีในกรณีที่ส่วนราชการผู้เบิกเป็นคนละจังหวัดกับส่วนราชการผู้ขอ • ส่วนราชการผู้เบิกเมื่อได้รับหนังสือสั่งจ่ายบำเหน็จบำนาญจากกรมบัญชีกลางแล้วให้ดำเนินการขอเบิกเงินบำเหน็จบำนาญต่อไปได้ทันที โดยผู้รับบำนาญไม่ต้องเดินทางไปรายงานตัวต่อส่วนราชการผู้เบิก และในปีต่อๆ ไป ผู้รับบำนาญก็ไม่ต้องเดินทางไปแสดงตัวหรือส่งใบรับรองการมีชีวิตอีกต่อไป
ลูกจ้างที่เกษียณอายุราชการลูกจ้างที่เกษียณอายุราชการ บำเหน็จปกติ • ทำงานไม่น้อยกว่า 1 ปีบริบูรณ์ วิธีคำนวณ ค่าจ้างเดือนสุดท้าย * จำนวนเดือนที่ทำงาน 12 บำเหน็จรายเดือน • ทำงาน 25 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป วิธีคำนวณ ค่าจ้างเดือนสุดท้าย * จำนวนเดือนทำงาน 12 50 บำเหน็จตกทอด วิธีคำนวณ 15 เท่าของบำเหน็จรายเดือน บำเหน็จค้ำประกัน
บำเหน็จลูกจ้าง • แบบการขอรับบำเหน็จปกติลูกจ้างประจำ (แบบ 5313) • บัตรลูกจ้างประจำรายชื่อ • หลักฐานการมีสิทธิได้นับเวลาทวีคูณ (ยกเว้นกฎอัยการศึก) • สำเนาคำสั่งที่ให้ออก หรืออนุญาตให้ออกจากราชการ หรือประกาศเกษียณอายุ • สำเนาคำสั่งเลื่อนขั้นค่าจ้างในวันที่ 30 กันยายน ของปีที่ออกจากราชการ