340 likes | 619 Views
การติดตามและการเฝ้าระวัง ผู้มีปัญหาการใช้สารเสพติดในชุมชน. เวลา 90 นาที. หลักสูตรอบรมเพิ่มพูนศักยภาพ การติดตามดูแลต่อเนื่องผู้มีปัญหาการใช้สารเสพติด สำหรับ บุคลากรผู้ดูแลในชุมชน. วัตถุประสงค์. เพื่อให้ผู้เข้าอบรม.......
E N D
การติดตามและการเฝ้าระวังผู้มีปัญหาการใช้สารเสพติดในชุมชนการติดตามและการเฝ้าระวังผู้มีปัญหาการใช้สารเสพติดในชุมชน เวลา 90 นาที หลักสูตรอบรมเพิ่มพูนศักยภาพ การติดตามดูแลต่อเนื่องผู้มีปัญหาการใช้สารเสพติด สำหรับ บุคลากรผู้ดูแลในชุมชน
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้าอบรม....... • มีความรู้ความเข้าใจในขั้นตอนและวิธีการติดตามผู้มีปัญหาการใช้สารเสพติดในชุมชน • สามารถให้ความช่วยเหลือตามปัญหาจากการติดตามดูแลต่อเนื่องได้
ความหมายของการติดตามดูแลต่อเนื่องความหมายของการติดตามดูแลต่อเนื่อง การติดตามดูแลต่อเนื่อง หมายถึง การติดตาม ดูแลต่อเนื่อง ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดที่ได้รับการบำบัดฟื้นฟูทั้งที่ครบบำบัดหรือขาดช่วงการบำบัดที่กลับคืนสู่ครอบครัวและชุมชน โดยให้การช่วยเหลือ ประคับประคอง ให้คำแนะนำปรึกษา เสริมกำลังใจ สร้างแรงจูงใจต่อเนื่อง ทั้งผู้ป่วยและครอบครัว เพื่อให้ผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด สามารถใช้ชีวิตอยู่ในสังคมทั่วไปได้ตามปกติโดยไม่กลับไปเสพยาเสพติดอีกและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
วัตถุประสงค์ของการติดตามต่อเนื่องในชุมชนวัตถุประสงค์ของการติดตามต่อเนื่องในชุมชน เพื่อทราบผลของการบำบัด ฟื้นฟูและการพัฒนาคุณภาพชีวิตหลังการบำบัด ป้องกันการกลับไปใช้ยาเสพติดซ้ำ โดยให้คำปรึกษา ช่วยเหลือเบื้องต้นและสร้างจูงใจต่อเนื่องสม่ำเสมอ ช่วยเหลือตามความต้องการที่จะทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น รายงานผลการติดตามดูแลต่อเนื่องอย่างสม่ำเสมอ
สรุปผลการติดตามผู้ผ่านการบำบัดรักษาจำแนกตามระบบบำบัดสรุปผลการติดตามผู้ผ่านการบำบัดรักษาจำแนกตามระบบบำบัด ที่มา : ข้อมูลจากระบบรายงาน บสต. และ ระบบ NISPA ณ วันที่ 7 ก.ค. 2557 เวลา 10.30 น.
แผนภูมิการประสานการดูแลต่อเนื่องแผนภูมิการประสานการดูแลต่อเนื่อง หลังการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด ช่วง 1 ปี : ทีมบูรณาการดูแลต่อเนื่องของอำเภอ ช่วงหลัง 1 ปี การดูแลต่อเนื่อง การบำบัดรักษา การดูแลต่อเนื่องทางสังคมและพัฒนาคุณภาพชีวิต โดย คณะกรรมการมหาดไทยพื้นที่ทุกส่วน ดังนี้ - เจ้าหน้าที่การปกครองท้องถิ่น : ติดตาม /พัฒนาคุณภาพชีวิต - รพ.สต.: เข้าร่วมการติดตามทางการแพทย์ - อสม.: การเยี่ยมบ้าน/ให้คำปรึกษาเบื้องต้น - พม.: การให้การช่วยเหลือตามที่ร้องขอ - กศธ.: การให้คำปรึกษาเบื้องต้น/จูงใจ - ผู้นำชุมชน: มาตรการทางสังคม/ชุมชน - ครอบครัว: ทักษะ/การทำหน้าที่ครอบครัว ทั้งนี้ ภาคีร่วมกำกับติดตามในพื้นที่ ได้แก่ -คุมประพฤติจังหวัด – ตำรวจ -ทหาร -ผู้ประสานงานปปส.จังหวัด –ศูนย์วิทย์ฯ -แรงงานท้องถิ่น เป็นต้น บำบัดรักษาติดตามทางการแพทย์ กสธ : รพศ./รพท./รพช. บำบัด 4 เดือน ติดตาม 1 ปี ผู้เสพ ผู้ติด ครู ก อบรม บำบัด 4 เดือน ติดตาม 1 ปี กรมการแพทย์ กรมสุขภาพจิต
บทบาทของบุคลากรผู้ดูแลในชุมชนกับการติดตามผู้มีปัญหาการใช้สารเสพติดบทบาทของบุคลากรผู้ดูแลในชุมชนกับการติดตามผู้มีปัญหาการใช้สารเสพติด • เป็นผู้ที่ติดตามดูแลผู้มีปัญหาการใช้สารเสพติด • ให้การช่วยเหลือฟื้นฟูและพัฒนาคุณภาพชีวิต ประคับประคองให้กลับคืนสู่ครอบครัวและชุมชน • ให้การช่วยเหลือ คำแนะนำ เสริมสร้างกำลังใจทั้งผู้เสพและครอบครัว • ควรติดตามดูแลต่อเนื่องอย่างสม่ำเสมอ
ผังไหล การดูแล ผู้มีปัญหาการใช้สารเสพติด ความรู้ คำปรึกษา แนะนำเบื้องต้น/ ยาบรรเทาอาการทางจิต 1- 2 สัปดาห์ กาย จิต สังคม บำบัด/ ยาบรรเทาอาการทางจิต รักษาบำบัดฟื้นฟู 4 เดือน (ผู้ป่วยนอก/ใน) ป้องกัน การเสพติดซ้ำ ดูแลต่อเนื่องในชุมชน = กลุ่มเป้าหมาย การติดตาม ดูแลต่อเนื่อง ติดตามหลังการแนะนำ อย่างน้อย1 ครั้ง / 3 เดือน ติดตามหลังการบำบัด อย่างน้อย 4- 7 ครั้ง / 1 ปี หยุด/เลิกเสพได้ มีแรงจูงใจในการหยุด ไม่กลับไปเสพติดซ้ำ ผู้เสพ ผู้เลิกเสพ ผู้ผ่านการบำบัด ผู้ติด ผู้ใช้ หยุด/ ไม่เสพซ้ำ หยุด/ ไม่เสพซ้ำ เสพติดซ้ำ จำหน่าย บสต. 5 เสพติดซ้ำ หลังหยุดได้ครบ 1 ปี ยังเสพอยู่/ อาการทางจิตไม่ทุเลา บสต 4 ไม่ครบ บสต 4 ไม่ครบ ผู้ที่ได้รับ การบำบัด ไม่ครบโปรแกรม บสต 4 ไม่ครบ รักษาฯ รักษาฯ รักษาฯ ผู้เสพ/ติด/อาการทางจิต เรื้อรัง ดูแลต่อเนื่อง
การติดตามหลังการรักษารูปแบบปัจจุบันการติดตามหลังการรักษารูปแบบปัจจุบัน โดยใช้ บสต.5 การติดตามหลังการรักษา 7 ครั้งตามแบบ บสต. 5 (แบบรายงานการ ติดตามผู้ป่วยหลังการรักษาที่ครบกำหนด) ที่เน้นการติดตามเรื่อง สภาพจิตใจ ร่างกาย สัมพันธภาพในครอบครัว ผลการตรวจปัสสาวะ การใช้สารเสพติด ครั้งที่ 1 หลังการรักษา 2 สัปดาห์ ครั้งที่ 2 หลังการรักษา 4สัปดาห์ ครั้งที่ 3 หลังการรักษา 2 เดือน ครั้งที่ 4 หลังการรักษา 3 เดือน ครั้งที่ 5 หลังการรักษา 6 เดือนครั้งที่ 6 หลังการรักษา 9 เดือน ครั้งที่ 7 หลังการรักษา 12 เดือน
วิธีการติดตามหลังการบำบัดวิธีการติดตามหลังการบำบัด โดยใช้ บสต.5 • ทางตรง(เป็นหลัก) • บุคลากรผู้ดูแลในชุมชน สามารถติดตามผู้มีปัญหาการใช้สารเสพติดโดยการเยี่ยมบ้าน • ทางอ้อม • ติดตามโดยสอบถามจากญาติพี่น้อง พ่อแม่ สามีภรรยาใช้โทรศัพท์ จดหมาย/ไปรษณียบัตร
กิจกรรมการติดตามดูแลหลังการบำบัดกิจกรรมการติดตามดูแลหลังการบำบัด • สังเกตอาการ หรือพฤติกรรมของผู้ผ่านการบำบัด • พูดคุย ถามเรื่องสุขภาพด้านร่างกาย จิตใจ ความสัมพันธ์กับคนในครอบครัว ให้คำแนะนำ กำลังใจ และคำปรึกษาตามความเหมาะสม • ให้ความรู้ในเรื่อง การดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิต การเลิกสารเสพติด หรือทักษะการป้องกันการกลับไปเสพซ้ำ • ประสานงานกับบุคลากรสาธารณสุข เพื่อขอความช่วยเหลือเมื่อพบว่าผู้ผ่านการบำบัดกลับไปเสพซ้ำ บันทึกการติดตามในบสต.5 ตามภาวะปกติและภาวะเร่งด่วน ก.ค.57-ก.ย.57 ใน ระบบ NISPA
การสำรวจความต้องการช่วยเหลือสำหรับผู้มีปัญหาการใช้สารเสพติดการสำรวจความต้องการช่วยเหลือสำหรับผู้มีปัญหาการใช้สารเสพติด 1. ด้านการศึกษาต้องการศึกษาต่อระดับ 2. ด้านการประกอบอาชีพ (อาชีพที่ท่านต้องการ) 3. ด้านการฝึกทักษะอาชีพ / การพัฒนาฝีมือ 4. ด้านเงินทุนเพื่อประกอบอาชีพ
สมุดบันทึกการติดตามดูแลช่วยเหลือสมุดบันทึกการติดตามดูแลช่วยเหลือ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นข้อมูลในการประเมินผลการดำเนินงาน 2. เพื่อทราบผลการติดตามดูแลช่วยเหลือ 3. เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการบันทึกข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ ข้อพึงปฏิบัติ 1. ให้ผู้มีหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายในการติดตามดูแลต่อเนื่องทำการลงข้อมูลในสมุดบันทึกฯ ทุกครั้งที่มีการปฏิบัติงาน 2. เมื่อเสร็จสิ้นการติดตามดูแลช่วยเหลือในแต่ละครั้ง แจ้งข้อมูลไปยังศูนย์ข้อมูล Demand อำเภอ 3. เมื่อเสร็จสิ้นการติดตามครบ ๓ ครั้ง ให้เก็บสมุดบันทึกส่งคืนที่ศูนย์ข้อมูล Demand อำเภอ
ขั้นตอนการติดตามด้วยสมุดติดตามฯขั้นตอนการติดตามด้วยสมุดติดตามฯ
การบันทึกข้อมูลผลการติดตามควรให้ครบถ้วนทุกข้อ...............เพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ความเสี่ยงและช่วยเหลือผู้รับบริการต่อเนื่องการบันทึกข้อมูลผลการติดตามควรให้ครบถ้วนทุกข้อ...............เพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ความเสี่ยงและช่วยเหลือผู้รับบริการต่อเนื่อง
บทสัมภาษณ์ผู้มีปัญหาการใช้สารเสพติดก่อนการประเมินผลติดตามบทสัมภาษณ์ผู้มีปัญหาการใช้สารเสพติดก่อนการประเมินผลติดตาม ประกอบด้วย 1. การใช้สารเสพติด ( Substance use) 2. สภาวะสุขภาพ ทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต (Health) 3. ความรับผิดชอบในชีวิต (Lifestyle/persona; Responsibility) 4. การเป็นประชาชนพลเมืองที่ดี เช่น ปฏิบัติตามกฎหมาย รับผิดชอบหน้าที่ในฐานะประชาชน (Citizenship) หมายเหตุ 0 = แย่ที่สุดและ 10 =ดีที่สุด
วิธีการใช้ บทสัมภาษณ์ก่อนการประเมินผลติดตาม • การสัมภาษณ์ขั้นต้นก่อนการประเมินติดตาม ควรสัมภาษณ์ผู้รับบริการต่อหน้า ดังนี้ • ผู้รับบริการ ให้คะแนนในตารางต่อไปนี้ คือ • 0 = แย่ที่สุด และ 10 = ดีที่สุด และใส่คะแนน • 2. (ถ้ามี) ญาติหรือผู้ดูแลของผู้รับบริการ ก็ให้ญาติคะแนน • แต่ไม่ต้องใส่คะแนนในตาราง • 3. เจ้าหน้าที่ ให้ความเห็นสะท้อนคะแนนของผู้รับบริการเปรียบเทียบกับคะแนนของญาติ • แล้วลงความคิดเห็นช่องหมายเหตุ
การติดตามดูแลต่อเนื่องครั้งที่ ๑วันที่ .......เดือน............ พ.ศ........... 1. สถานะของผู้รับบริการ • ไม่พบ เปลี่ยนที่ทำงานถูกจับ เสียชีวิต ติดตามไม่ได้ อื่นๆ ระบุ ........................................... • พบ • ไม่เสพ • เสพ ตอบได้มากกว่า ๑ ข้อ • ใช้ ๑ – ๒ ครั้งต่อสัปดาห์ • ใช้มากกว่า ๒ ครั้งต่อสัปดาห์ • ส่งต่อบำบัดของสาธารณสุข 2. สภาพร่างกาย แข็งแรง อ่อนแอ เจ็บป่วย/ทรุดโทรม 3. สภาพจิตใจ ปกติ ซึมเศร้า/แยกตัว ก้าวร้าว หวาดระแวงโดยไม่มีเหตุผล หูแว่วหรือเห็นภาพหลอน
การติดตามดูแลต่อเนื่องครั้งที่ ๑ (ต่อ) 4. สัมพันธภาพในครอบครัว ยอมรับ/ช่วยเหลือ อยู่ร่วมกันได้ ไม่ยอมรับ ไม่มีญาติ 5. สัมพันธภาพในชุมชน ยอมรับ/ช่วยเหลือ อยู่ร่วมกันได้ไม่ยอมรับ 6. สถานะการศึกษา กำลังศึกษาอยู่ ระดับ..............ปีที่ ............ สถานศึกษา ...................... ไม่ได้เรียน/ศึกษาแล้ว
การติดตามดูแลต่อเนื่องครั้งที่ ๑ (ต่อ) 7. สถานะการประกอบอาชีพ • มีอาชีพอยู่แล้ว คือข้าราชการ รัฐวิสาหกิจ ทหาร/ตำรวจ พนักงานบริษัทเอกชน พนักงานโรงแรม รับจ้าง ผู้ใช้แรงงาน การค้าขาย การเกษตร การคมนาคม นักบวช อื่นๆ ........................ ว่างงาน 8. ความต้องการความช่วยเหลือ ไม่ต้องการ เนื่องจากมีงานทำ เรียน/ศึกษาต่อ อื่นๆ ........................ ต้องการ ในด้าน การศึกษา จัดหางานให้ทำ การฝึกทักษะ/พัฒนาฝีมืออาชีพ เงินทุนประกอบอาชีพ รักษาสุขภาพ อื่นๆ ระบุ ................
การติดตามดูแลต่อเนื่องครั้งที่ ๑ (ต่อ) การประเมินนี้เพิ่มการเฝ้าระวังมากขึ้นได้แก่ 9. พฤติกรรมความเสี่ยง ไม่พบพฤติกรรมเสี่ยง มีแนวโน้มใช้ยาเสพติดมากขึ้น ทะเลาะวิวาทกับคนในครอบครัว ขาดเรียน/หยุดงาน ก่ออาชญากรรม จี้ปล้น ชิงทรัพย์ ทำร้ายร่างกายผู้อื่น อื่นๆ ระบุ .......................
ใช้ บทสัมภาษณ์ก่อนการประเมินผลติดตาม ทุกครั้ง
การติดตามดูแลต่อเนื่องครั้งที่ ๒-๓ • การติดตามครั้งที่ 2 และ 3 จะมีประเด็นติดตามเพียง 8 หัวข้อ เนื่องจากยกเว้นการถามซ้ำเรื่องการศึกษาและอาชีพ • แต่จะเพิ่ม การประเมินการให้ความช่วยเหลือจากสังคม ดังปรากฏใน ข้อ 7 การได้รับความช่วยเหลือ ยังไม่ได้รับความช่วยเหลือ ได้รับความช่วยเหลือแล้ว เมื่อวันที่ ........เดือน ..................พ.ศ. .................. คือ จัดการศึกษาให้ จัดหางานให้ทำ การติดตามครั้งที่ 2 และ 3 จะมีประเด็นติดตามเพียง 8 หัวข้อ เนื่องจากยกเว้นการถามซ้ำเรื่องการศึกษาและอาชีพ แต่จะเพิ่ม การประเมินการให้ความช่วยเหลือจากสังคม ดังปรากฏใน ข้อ 7 การได้รับความช่วยเหลือ ยังไม่ได้รับความช่วยเหลือ ได้รับความช่วยเหลือแล้ว เมื่อวันที่ ........เดือน ..................พ.ศ. .................. คือ จัดการศึกษาให้ จัดหางานให้ทำ ฝึกทักษะ/พัฒนาฝีมืออาชีพ ให้ทุนประกอบอาชีพ ส่งต่อเข้ารับการรักษาสุขภาพ อื่นๆ ระบุ ..........................