1 / 27

การพัฒนาแบบ บูรณา การและยั่งยืนของ ระบบการประกันคุณภาพ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

การพัฒนาแบบ บูรณา การและยั่งยืนของ ระบบการประกันคุณภาพ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ENQA). สำนักประกันคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์. ผลการดำเนินการ ปีการศึกษา 2549 - 2553. ลำดับการนำเสนอ. การใช้ประโยชน์และการบูร ณา การข้อมูล. นวัตกรรมและการ พัฒนา. กระบวนการของระบบ ENQA.

desma
Download Presentation

การพัฒนาแบบ บูรณา การและยั่งยืนของ ระบบการประกันคุณภาพ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาแบบบูรณาการและยั่งยืนของ ระบบการประกันคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ENQA) สำนักประกันคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์

  2. ผลการดำเนินการ ปีการศึกษา 2549 - 2553 ลำดับการนำเสนอ • การใช้ประโยชน์และการบูรณาการข้อมูล • นวัตกรรมและการพัฒนา กระบวนการของระบบ ENQA สำนักประกันคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์

  3. 1. กระบวนการของระบบ ENQA การสร้างคณะทำงาน การสร้างเครื่องมือในการทำงาน การสร้างกลไกการทำงาน การสร้างความเข้าใจร่วมกัน สำนักประกันคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์

  4. ปฏิทินการดำเนินงานระบบ ENQA

  5. 2. ผลการดำเนินการ • การสร้างเครื่องมือในการทำงาน • การสร้างความเข้าใจร่วมกัน การสร้างคณะทำงาน • การสร้างกลไกการทำงาน สำนักประกันคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์

  6. 2.1 การสร้างคณะทำงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการประเมินตนเอง (SAR Team) ระดับภาควิชา ประกอบด้วย บุคลากรสายผู้สอนและสายสนับสนุน ทำหน้าที่- พิจารณากำหนดเกณฑ์ตัวชี้วัด (ENQA KPIs) ร่วมกัน - รวบรวมข้อมูลและจัดทำรายงานตามเกณฑ์ตัวชี้วัด (ENQA KPIs) เปรียบเสมือน ผู้ประสานงานระหว่างภาควิชาและสำนักประกันคุณภาพของคณะฯ สำนักประกันคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์

  7. 2. รับสมัคร ENQA Team ประกอบด้วย บุคลากรทั้งสายผู้สอนและสายสนับสนุนจากทุกหน่วยงาน ของคณะฯ ทำหน้าที่ - พิจารณากำหนดเกณฑ์ตัวชี้วัด (ENQA KPIs) ร่วมกัน - เป็นผู้ตรวจประเมินคุณภาพภายในระดับภาควิชา เปรียบเสมือน ตัวแทนของสำนักงานประกันคุณภาพที่กระจายอยู่ตามภาควิชา และหน่วยงานต่างๆ สำนักประกันคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์

  8. สำนักประกันคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์

  9. การคงอยู่ของสมาชิกเครือข่าย SAR Team และ ENQA Team ในปีการศึกษา 2553 สำนักประกันคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์

  10. 2.2 การสร้างเครื่องมือในการทำงาน 1. จัดทำคู่มือการประกันคุณภาพภายใน คณะวิศวกรรมศาสตร์ รวบรวมตัวชี้วัดจากหน่วยงานที่กำกับดูแลคณะฯ ทั้ง สกอ. ก.พ.ร. สมศ. และ มข. เพื่อมาจัดทำเป็นตัวชี้วัดของคณะฯ(ENQA KPIs) สำนักประกันคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์

  11. สำนักประกันคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์

  12. 2. จัดทำรูปแบบรายงานการประเมินตนเอง ระดับภาควิชา • ส่วนที่ 1 สภาพปัจจุบันขององค์กร • ลักษณะองค์กร • สภาพแวดล้อมองค์กร • ความสัมพันธ์ภายในองค์กร • และภายนอกองค์กร • ความท้าทายต่อองค์กร • ส่วนที่ 2 ผลการดำเนินงานของภาควิชา • ผลงานภาควิชา • ผลงานอาจารย์ • ผลงานบุคลากรสายสนับสนุน • ผลงานนักศึกษา • ส่วนที่ 3 ผลการประเมินตนเอง • ส่วนที่ 4 สรุประดับคะแนนของผลการประเมินตนเองแต่ละ • ตัวชี้วัด สำนักประกันคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์

  13. 2.3 การสร้างความเข้าใจร่วมกัน 1. อบรมตัวชี้วัดคณะวิศวกรรมศาสตร์ ผู้เข้าร่วมอบรม SAR Team และ ENQA Team สำนักประกันคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์

  14. การสร้างความเข้าใจร่วมกันการสร้างความเข้าใจร่วมกัน 2. อบรมผู้ตรวจประเมินคุณภาพภายในระดับภาควิชา หัวข้อบทบาทและหน้าที่ของผู้ตรวจประเมินคุณภาพภายใน แลกเปลี่ยนเรียนรู้การตรวจประเมินคุณภาพภายใน สำนักประกันคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์

  15. 2.4 การสร้างกลไกการทำงาน การตรวจประเมินคุณภาพภายในระดับภาควิชา กรรมการผู้ตรวจประเมินประกอบด้วย SAR Team และ ENQA Team ที่ผ่านการอบรมได้รับคัดเลือกจากคณะฯ ให้เป็นผู้ตรวจประเมินคุณภาพภายใน สำนักประกันคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์

  16. รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายในระดับภาควิชาต่อผู้บริหารคณะ ภาควิชา และกรรมการคณะ สำนักประกันคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์

  17. 3. การใช้ประโยชน์และการบูรณาการข้อมูล สกอ. ก.พ.ร. ENQA KPIs สมศ. มข. สำนักประกันคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์

  18. การใช้ประโยชน์และการบูรณาการข้อมูลการใช้ประโยชน์และการบูรณาการข้อมูล • ENQA • การตรวจประเมินคุณภาพภายในภาควิชา • SAR ภาควิชา PMQA , EdPEx SAR คณะ สำนักประกันคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์

  19. สำนักประกันคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์

  20. สำนักประกันคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์

  21. สนับสนุน พัฒนา สำนักประกันคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์

  22. 4. นวัตกรรมและการพัฒนาที่เกิดขึ้น ระบบประกันคุณภาพระดับภาควิชา การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างภาควิชาส่งเสริมการพัฒนา แบบก้าวกระโดด การยอมรับและทัศนคติที่ดีต่อการประกันคุณภาพ การสร้างบุคลากรด้านการประกันคุณภาพของคณะและ มหาวิทยาลัย สำนักประกันคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์

  23. 4.1 ระบบประกันคุณภาพภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ นำเกณฑ์ ENQA มาเป็นส่วนหนึ่งในการพิจารณาและตัดสินใจในการดำเนินงานด้านการจัดการเรียนการสอน และการบริหารจัดการองค์กร สำนักประกันคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์

  24. สำนักประกันคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์

  25. 4.2 การพัฒนาแบบก้าวกระโดดของภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า อันเป็นผลมาจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นำสิ่งเรียนรู้จากภาควิชาที่ประสบความสำเร็จ มาใช้พัฒนางานประกันคุณภาพของตน ข้อมูลจากการเรียนรู้ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ด้านผู้นำ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ด้านผู้ปฏิบัติงาน งานประกันคุณภาพ ด้านระบบการทำงาน สำนักประกันคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์

  26. การพัฒนาแบบก้าวกระโดดของภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าการพัฒนาแบบก้าวกระโดดของภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า สำนักประกันคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์

  27. 4.3 การยอมรับและทัศนคติที่ดีต่อการประกันคุณภาพ สิ่งที่ได้รับจากการเป็น SAR Team และ ENQA Team • ได้พัฒนาความรู้ด้านการประกันคุณภาพ และนำความรู้มาพัฒนาการทำงานของตนเอง • ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการทำงานของแต่ละภาควิชา และเป็นแนวทางให้นำ • วิธีการทำงานที่ดีมาประยุกต์ใช้ภายในหน่วยงาน/ภาควิชา • เกิดความสามัคคีระหว่างบุคลากรภายในคณะเนื่องจากมีการทำงานร่วมกัน สำนักประกันคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์

More Related