160 likes | 283 Views
ภาษาโลโกและการสร้างชิ้นงาน. ความเป็นมาของภาษาโลโก
E N D
ภาษาโลโกและการสร้างชิ้นงานภาษาโลโกและการสร้างชิ้นงาน
ความเป็นมาของภาษาโลโกความเป็นมาของภาษาโลโก เริ่มขึ้นในปี พ.ศ.2513 เมื่อกลุ่มนักวิจัยของสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ นำโดย เซย์มัว พาเพิร์ต ได้ทำการออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ คล้ายกับของ เกย์ วอลเทอร์ เพื่อให้เด็ก ๆ สามารถเขียนโปรแกรมคำสั่งที่ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย สั่งให้โปรแกรมทำงานตามที่ต้องการ พวกเขาจึงทำการพัฒนาภาษาคอมพิวเตอร์ขึ้นใหม่ เรียกว่าภาษา “โลโก” 2
เป็นภาษาที่ง่ายสำหรับเด็ก ช่วยให้เด็กสามารถเขียนคำสั่งให้หุ่นยนต์เต่า (Logo) เคลื่อนที่ไปมาและเปลี่ยนทิศทางตามที่ต้องการ ภาษาโลโกจึงเป็นทางเลือกใหม่ สำหรับเด็กในการฝึกทักษะทางภาษาคอมพิวเตอร์ และสามารถสร้างงานจากจินตนาการ โดยอาศัยความเข้าใจพื้นฐานของวิชาคณิตศาสตร์ที่ใช้ในชีวิตประจำวันได้ 3
ในปัจจุบันเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ มีราคาถูก จึงได้มีการพัฒนาโปรแกรมสำเร็จรูปให้สามารถจำลองหุ่นยนต์เต่าอิเล็กทรอนิกส์ เป็นภาพกราฟิกเต่า เคลื่อนที่ไปมาบนจอภาพคอมพิวเตอร์ ต่อมามีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของภาพกราฟิกเต่า มาเป็นภาพสัญลักษณ์สามเหลี่ยม 4
คำว่า “โลโก”หมายถึงหุ่นยนต์เต่า สามารถเคลื่อนที่ไปในทิศทางต่าง ๆ ได้โดยการควบคุมจากเครื่องคอมพิวเตอร์ ในขณะที่เคลื่อนที่จะเขียนรอยทางเดินไปตามทิศทางนั้น ๆ ด้วย ผู้เขียนโปรแกรมสามารถใช้คำสั่งภาษาอังกฤษที่เข้าใจได้ง่าย ๆ 5
ภาษาโลโกมีจุดเริ่มต้นการพัฒนาโปรแกรมจาก ไบรอัน ฮาร์เวย์ และคณะทำงานที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียร์–เบิร์กเลย์ ซึ่งเรียกโปรแกรมนี้ว่า "โลโกเบิร์กเลย์" หลังจากนั้นได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ให้สามารถใช้งานภายใต้ระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกัน จากระบบยูนิกซ์ (UNIX) เป็นระบบดอส (DOS) จนถึงปัจจุบัน ยอร์จ มิลส์ ได้พัฒนาให้สามารถทำงานภายใต้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ได้ เราเรียกโปรแกรมนี้ว่า “เอ็มเอสดับบลิวโลโก”(MSWLogo) 6
MSWLogo เป็นโปรแกรมรุ่นที่มีประสิทธิภาพสูงสุดจากโปรแกรมโลโกที่มีใช้ทั้งหมดในขณะนี้ เหมาะสำหรับใช้ในการเรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น และได้มีการเรียนการสอนเกี่ยวกับโปรแกรมนี้อย่างแพร่หลายในประเทศสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย และประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก การใช้งานสะดวก ไม่ยุ่งยาก เหมือนโปรแกรมอื่นๆ 7
MSWLogo โปรแกรมนี้จะกระตุ้นให้นักเรียนมีความกล้าในการสร้างสรรค์งานกราฟิกรูปแบบต่าง ๆ จากจินตนาการของตนเองได้ง่าย ช่วยให้มีพื้นฐานและความถนัดเบื้องต้นในการเขียนโปรแกรม นอกจากนี้ความแพร่หลายของโปรแกรม MSWLogoที่นำไปสอนในโรงเรียนต่าง ๆ ทำให้มีการสนับสนุนทางด้านวิชาการและตัวอย่างโปรแกรมที่น่าสนใจเป็นจำนวนมาก โดยสามารถสืบค้นจากอินเทอร์เน็ตได้ 8
สาระการเรียนรู้ ภาษาโลโก • Download / ติดตั้งโปรแกรมโลโก • ส่วนต่าง ๆ ของการใช้งานโปรแกรมโลโก • คำสั่งเบื้องต้นภาษาโลโก • คำสั่งเพิ่มเติม
MswLogo Screen 1 ปุ่มปิดหน้าต่าง 9 6 Help 8 5 Zoom ปุ่มขยายหน้าต่าง 4 Set ปุ่มย่อหน้าต่าง 7 3 10 เต่า Logo Bitmap แถบเลื่อนแนวตั้ง 10 2 File
1. MswLogo Screen ไตเติ้ลบาร์ แสดงชื่อโปรแกรม • 2. File • 3. Bitmap
คำสั่งเบื้องต้นในภาษาโลโกคำสั่งเบื้องต้นในภาษาโลโก • FORWARD (FT) เดินตรงไปข้างหน้า (ตามระยะที่กำหนด) • BACK (BK) ถอยหลัง (ตามระยะที่กำหนด) • RIGHT (RT) เลี้ยวขวา (ตามมุมองศาที่กำหนด) • LEFT (LT) เลี้ยวซ้าย (ตามมุมองศาที่กำหนด) • Home สั่งให้เต่ากลับไปยังตำแหน่งเริ่มต้น • Clear Screen (CS) ลบข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏในหน้าต่างแสดงผล • Hide Turtle (HT) ซ่อนภาพกราฟิกเต่า • Show Turtle (ST) แสดงภาพกราฟิกเต่า
ภาพแสดงทิศทางการเดินของเต่าโลโกภาพแสดงทิศทางการเดินของเต่าโลโก
รูปหลายเหลี่ยมสร้างจากภาษาโลโกรูปหลายเหลี่ยมสร้างจากภาษาโลโก
คำสั่งภาษาโลโก (เพิ่มเติม 1) • REPEAT n […] ทำคำสั่งในวงเล็บ […] ซ้ำ รอบ • PEN UP (PU) ยกปากกาขึ้น (เดินไปจะไม่มีรอย) • PEN DOWN (PD) วางปากกาลง (เดินไปจะปรากฏรอย) • SETPENCOLOR [R G B] (SETPC) กำหนดสีปากกาเป็นสีตามค่าในวงเล็บ • SETPENCOLOR n (SETPC) กำหนดสีปากกาเป็นสีตามค่าตัวเลข n
สีและคำสั่งกำหนดสีปากกาสีและคำสั่งกำหนดสีปากกา สี หมายเลขค่า RGB คำสั่งในภาษาโลโก Black 0 [0 0 0] SETPC 0 Blue 1 [0 0 255] SETPC 1 Green 2 [0 255 0] SETPC 2 Cyan 3 [0 255 255] SETPC 3 Red 4 [255 0 0] SETPC 4 Magenta 5 [255 0 255] SETPC 5 Yellow 6 [255 255 0] SETPC 6