230 likes | 475 Views
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อทางเดินหายใจ. กฤษณา เฉลียวศักดิ์ พยม.การพยาบาลผู้ใหญ่. Acute bronchitis. เป็นการติดเชื้อของ bronchi ใน lower respiratory tract เชื้อที่พบบ่อย คือ streptococcus pneumonie, haemophilus influenza, mycoplasma pneumonie, chlamydia p. อาการและอาการแสดง. cough
E N D
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อทางเดินหายใจ กฤษณา เฉลียวศักดิ์ พยม.การพยาบาลผู้ใหญ่
Acute bronchitis เป็นการติดเชื้อของ bronchi ใน lower respiratory tract เชื้อที่พบบ่อย คือ streptococcus pneumonie, haemophilus influenza, mycoplasma pneumonie, chlamydia p.
อาการและอาการแสดง • cough • sputum : clear, mucoid, purulent • fever • headache • malaise • shortness of breathing
physical examination • fever • pulse,respiration rate: normal • rhonchi, wheezing • x-ray: infiltration
Treatment • self-limiting • fluid • rest • cough suppressant agent • bronchodilator
Pneumonia • เป็นการอักเสบอย่างเฉียบพลันของเนื้อปอดจากเชื้อจุลลินทรีย์ ช่องทางที่เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายมีดังนี้ • aspirate • inhalation • hematogenous spred
Factors predisposing to pneumonia • aging • air pollution • altered consciousness • bed rest and prolong immobility • chronic disease • HIV
Factors predisposing to pneumonia • immunosuppressive drugs • inhalation or aspirate of noxious sub • intestinal and gastric feeding • malnutrition • smoking • tracheal intubation
Type of pneumonia • Community-Acquired pneumonia :CAP • เป็นการติดเชื้อขณะที่อยู่ในชุมชนหรือเมื่อเข้าอยู่รพ.ได้ประมาณ 2 วัน • มักเกิดในช่วงอากาศหนาวเย็น • คนที่สูบบุหรี่มีภาวะเสี่ยงสูง • เชื้อที่พบมักเป็น streptococcus p. • รักษาด้วย doxycyclin
Type of pneumonia • Hospital-Acquired pneumpnia : HAP • จะปรากฏอาการเมื่อได้รับเชื้อ 48 ชม. หรือนานกว่า • เชื้อที่มักเป็นสาเหตุคือ Pseudomonase,enterobacter S. aures • รักษาด้วย aminoglycoside,cefoperazone • impenam,aztreonam,vancomycin
Pathophysiology • congestion :เมื่อเชื้อเข้าสู่ถุงลมในระยะ 12- 24 ชม.ร่างกายจะมีกลไกการกำจัดเชื้อโรคด้วยการเพิ่มการไหลเวียนมีเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาวและไฟบริน เพื่อกำจัดเชื้อโรค ในถุงลมอาจมี transudate, exudate • red haptization : เกิดในวันที่ 2-3 ของโรคในปอดจะพบเม็ดเลือดแดงและไฟบริน ปอดจะมีสีแดงลักษณะคล้ายตับ
Pathophysiology • gray hepatization : เกิดในวันที่ 4-5ของโรคการอักเสบลุกลามไปมากขึ้น หลอดเลือดฝอยที่ผนังถุงลมมีขนาดเล็กลง ทำให้เนื้อปอดขาดเลือดเปลี่ยนสี • resolution : หลังจากเชื้อโรคเข้าไป 7-10วันร่างกายเริ่มมีภูมิต้านทานและไม่มีภาวะแทรกซ้อน
อาการและอาการแสดง • ไข้สูง หนาวสั่น ไอมีเสมหะ • เจ็บหน้าอกโดยเฉพาะเมื่อหายใจเข้า • ท้องอืด คลื่นไส้อาเจียน ท้องเสีย • นอนนิ่งๆ ทับทรวงอกข้างที่เจ็บ • อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ หายใจหอบ • ไอ
อาการและอาการแสดง • ฟังปอดได้ยินเสียง crepitation • ฟังปอดได้ยินเสียง pleural friction rub • ฟังลมหายใจได้ยินเสียงเบา
การวินิจฉัย • จากการซักประวัติ อาการอาการแสดง ตรวจร่างกาย • การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : sputum • ผลการถ่ายรังสีทรวงอก : infiltration • เพาะเชื้อโลหิต (hemoculture)
การป้องกัน • Pneumococcal vaccine ใช้กับผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงเช่น • chronic illness • recovering from severe illness • 65 year or older • in long term care
การดูแลรักษาพยาบาล • การให้ยา : antibiotic, antiviral • amantadine,rimantadine • 0xygen therapy • analgesic antipyretic drugs • rest
Tuberculosis • เกิดจากเชื้อ Mycobacterium T. • สามารถแพร่กระจายได้ทาง airborne dropletes • ต้องเป็นลักษณะ closed contact • เชื้อสามารถแพร่กระจายไปยังอวัยวะอื่นๆได้นอกจากปอด • เนื้อเยื่อที่มีการติดเชื้อเรียกว่า epithelium granuloma
อาการและอาการแสดง • ทั่วไปมักไม่ปรากฏอาการ • ไอบ่อย ไอเรื้อรัง ไอมีเสมหะ • หายใจลำบาก • ไอเป็นเลือด (advance case) • pleuritic chest pain • pneumocyctic carinii p.(PCP)
การดูแลรักษาพยาบาล • ยารักษา TB • isoniazid,rifampin,pyrazinamide+ • streptomycin or eythambutol • ethionamide,capremycin,kanamycin, • para-aminosalicylic acid,cycloserine
การดูแลรักษาพยาบาล • quinolone,ciprofloxacin,ofloxacin, sparfloxacin,rifapetine • long term care • bacille calmette guerin (BCG)
การพยาบาลผู้ที่มีการติดเชื้อทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ที่มีการติดเชื้อทางเดินหายใจ • การพยาบาลเพื่อให้เซลได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ • การพยาบาลเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค • การพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะขาดสารอาหาร • การพยาบาลเพื่อป้องกันการไม่สมดุลของสารน้ำฯ • การพยาบาลเพื่อความสุขสบาย • การพยาบาลเพื่อลดความวิตกกังวล