1 / 33

การบัญชีต้นทุน (2)

การบัญชีต้นทุน (2). 563255 การบริหารเภสัชกิจเบื้องต้น 2 ผศ.ดนิตา ภาณุจรัส SLIDE TIME 43 MIN. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม. 3.บันทึกบัญชีต้นทุนตามระบบการสะสมทุนแบบสิ้นงวด 4.บันทึกงบต้นทุนการผลิต และบันทึกบัญชีต้นทุนตามระบบการสะสมทุนแบบต่อเนื่อง.

diamond
Download Presentation

การบัญชีต้นทุน (2)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบัญชีต้นทุน(2) 563255 การบริหารเภสัชกิจเบื้องต้น 2 ผศ.ดนิตา ภาณุจรัส SLIDE TIME 43 MIN.

  2. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม • 3.บันทึกบัญชีต้นทุนตามระบบการสะสมทุนแบบสิ้นงวด • 4.บันทึกงบต้นทุนการผลิต และบันทึกบัญชีต้นทุนตามระบบการสะสมทุนแบบต่อเนื่อง

  3. ปรับปรุงบัญชีสินค้าสำเร็จรูปบัญชีต้นทุนสินค้าระบบสิ้นงวดปรับปรุงบัญชีสินค้าสำเร็จรูปบัญชีต้นทุนสินค้าระบบสิ้นงวด

  4. ค่าใช้จ่ายในโรงงาน(ส่วนสีฟ้า)ค่าใช้จ่ายในโรงงาน(ส่วนสีฟ้า) • 1.วัตถุดิบทางตรง • 2.ค่าแรงงานทางตรง • 3.ค่าใช้จ่ายการผลิต • 3.1.วัตถุดิบทางอ้อม ไม่ใช่วัตถุดิบหลัก • 3.2.ค่าแรงงานทางอ้อม ไม่เกี่ยวข้องกับค่าแรงงานทางตรงที่ผลิตสินค้า เช่น พนักงานทำความสะอาด • 3.3. ค่าใช้จ่ายอื่นในโรงงาน ได้แก่ ค่าน้ำค่าไฟในโรงงาน

  5. 5.บันทึกปรับปรุงค่าแรงที่จ่ายไปแล้ว5.บันทึกปรับปรุงค่าแรงที่จ่ายไปแล้ว • วันที่ 31 มกราคม.รายการที่1: ปรับปรุงค่าแรง 5,000 บาท • Dr.บัญชีค่าแรงทางตรง(503) 1,500 • Dr.บัญชีค่าใช้จ่ายการผลิต(504) 700 • Dr.บัญชี-ขายและบริหาร(505) 2,800 • Cr. บัญชีค่าแรงจ่าย(502) 5,000

  6. 6.ปรับปรุงบัญชีค่าใช้จ่ายการผลิต6.ปรับปรุงบัญชีค่าใช้จ่ายการผลิต • Dr. บัญชีค่าใช้จ่ายการผลิต(504) • Cr. บัญชีค่าเสื่อมราคาสะสม-อาคาร(123) • Cr. บัญชีค่าเสื่อมสะสม-เครื่องจักรอุปกรณ์(125) • Cr. บัญชีค่าประกันภัยจ่ายล่วงหน้า(107) • Cr. บัญชีเงินสด(101)ที่จ่ายค่าใช้จ่ายการผลิต เช่น ค่าน้ำไฟโทรศัพท์ในโรงงาน

  7. 1. สิ้นงวดปรับปรุงบัญชีสินค้า • วันที่ 31 มกราคม.รายการที่ 5. แผนกบัญชีต้นทุนได้ตรวจนับสินค้าปลายงวด งบดุล บริษัทศรีนครจำกัด(วันที่ 1 ม.ค. 2548) • วัตถุดิบ (ทางตรงและทางอ้อม) 1,000 • งานระหว่างผลิต 8,000 • สินค้าสำเร็จรูป 7,000 งบทดลองก่อนการปรับปรุง วันที่ 31 ม.ค. 2548 • วัตถุดิบ 4,000 • งานระหว่างผลิต 400 • สินค้าสำเร็จรูป 1,000

  8. 1. สิ้นงวดปรับปรุงบัญชีสินค้า • Cr.บัญชีค่าแรงงานทางตรง(503) • Cr.บัญชีค่าใช้จ่ายการผลิต(504)เช่น -ค่าเสื่อมราคา-ประกัน-ค่าไฟ-ค่าแรงทางอ้อม • Cr.บัญชีวัตถุดิบ(103) • Cr.บัญชีงานระหว่างผลิต(104) คือสินค้าซึ่งยังผลิตไม่เสร็จในวันสิ้นงวดบัญชีที่แล้ว • : Dr. บัญชีสินค้าสำเร็จรูป(105)

  9. 1. สิ้นงวดปรับปรุงบัญชีสินค้า • Dr.บัญชีสินค้าสำเร็จรูป(105) 14,200 • Cr.บัญชีค่าแรงทางตรง(503) 1,500 • Cr.บัญชีค่าใช้จ่ายการผลิต(504) 12,700 • Dr.บัญชีวัตถุดิบ(103) 4,000 • Dr.บัญชีสินค้าสำเร็จรูป(105) 2,000 • Cr.บัญชีวัตถุดิบ(103)6,000 • Dr.บัญชีงานระหว่างผลิต(104)400 • Dr.บัญชีสินค้าสำเร็จรูป(105) 7,600 • Cr.บัญชีงานระหว่างผลิต (104)8,000

  10. 2.สิ้นงวดปรับปรุงบัญชีต้นทุนสินค้า5012.สิ้นงวดปรับปรุงบัญชีต้นทุนสินค้า501 • สินค้าสำเร็จรูปปลายงวด 1,000 • สินค้าสำเร็จรูปต้นงวด 7,000 • Dr.บัญชีต้นทุนสินค้า(501) 6,000 • Dr.บัญชีสินค้าสำเร็จรูป(105)1,000 • Cr.บัญชีสินค้าสำเร็จรูป(105) 7,000 • Dr. บัญชีต้นทุนสินค้า(501) 23,800(ผลิต) • Cr. บัญชีสินค้าสำเร็จรูป(105) 23,800

  11. การคำนวณสินค้าที่ผลิตเสร็จระหว่างงวดการคำนวณสินค้าที่ผลิตเสร็จระหว่างงวด • ในระหว่างเดือนมกราคม มีข้อมูลทางบัญชีดังนี้ • ซื้อวัตถุดิบ (ทางตรงและทางอ้อม) 5,000 บาท • ค่าแรงงานคนงานโรงงาน 1,500 บาท • ค่าใช้จ่ายการผลิต (ในจำนวนนี้ได้รวมวัตถุดิบทางอ้อม 500 บาท) 13,200 บาท* • ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร 7,000 บาท** • ขายสินค้า 200 หน่วย มีรายได้45,600 บาท

  12. คำนวณวัตถุดิบทางตรงที่ใช้ระหว่างงวดคำนวณวัตถุดิบทางตรงที่ใช้ระหว่างงวด • วัตถุดิบคงเหลือต้นงวด 1,000 • บวก : ซื้อวัตถุดิบ 5,000 • หัก : วัตถุดิบคงเหลือปลายงวด 4,000 • วัตถุดิบใช้ไปในการผลิตทั้งสิ้น 2,000 • หัก : วัตถุดิบทางอ้อมใช้ไป 500 • วัตถุดิบทางตรง1,500

  13. คำนวณหามูลค่าสินค้าที่ผลิตระหว่างงวดคำนวณหามูลค่าสินค้าที่ผลิตระหว่างงวด • วัตถุดิบทางตรง1,500 • ค่าแรงงานทางตรง 1,500 • ค่าใช้จ่ายการผลิต 13,200 • รวมต้นทุนที่ใช้ในการผลิต 16,200 • บวก:งานระหว่างผลิตต้นงวด 8,000 • หัก:งานระหว่างผลิตปลายงวด 400 7,600 • ผลิตสินค้าสำหรับรูประหว่างงวด23,800

  14. คำนวณต้นทุนสินค้าที่ขายระหว่างงวดคำนวณต้นทุนสินค้าที่ขายระหว่างงวด • สินค้าสำเร็จรูปต้นงวด 7,000 • บวก : สินค้าสำเร็จรูปที่ผลิต23,800 • หัก : สินค้าสำเร็จรูปปลายงวด 1,000 • ต้นทุนสินค้าที่ขายระหว่างงวด 29,800

  15. งบทดลองก่อนปิดบัญชี • B

  16. งบต้นทุนการผลิต • คำนวณวัตถุดิบทางตรงที่ใช้ระหว่างงวด=ต้นงวด+ซื้อมา-ปลายงวด-วัตถุดิบทางอ้อม =1,500 บาท • คำนวณหามูลค่าสินค้าที่ผลิตระหว่างงวด = วัตถุดิบทางตรง +ค่าแรงทางตรง+ค่าใช้จ่าย การผลิต+งานระหว่างผลิต(ต้นงวด-ปลายงวด)=23,800 บาท

  17. การบันทึกบัญชีตามระบบการสะสมต้นทุนแบบต่อเนื่องการบันทึกบัญชีตามระบบการสะสมต้นทุนแบบต่อเนื่อง

  18. หลักการ หลักการบันทึกบัญชีสินค้าแบบต่อเนื่อง (บันทึกรายการค้าทุกครั้ง ที่มีการเคลื่อนไหวของสินค้า) • วัตถุดิบ(ทางตรง) • ค่าแรงงงานทางตรง • ค่าใช้จ่ายการผลิต กลายเป็น บัญชีงานระหว่างผลิต(104)

  19. การบันทึกบัญชี(104) ระบบต่อเนื่อง

  20. 1.กิจการซื้อวัตถุดิบ • 1.ซื้อวัตถุดิบ เดบิต บัญชีวัตถุดิบ • วันที่ 4 มกราคม. กิจการซื้อวัตถุดิบมาใช้ในการผลิตสินค้า (ทั้งวัตถุดิบทางตรงและวัตถุดิบทางอ้อม) เป็นเงินสดจำนวนทั้งสิน 5,000 บาท • Dr. บัญชีวัตถุดิบ(103) 5,000 • Cr. บัญชีเงินสด(101) 5,000

  21. 2.เบิกวัตถุดิบทางตรงและทางอ้อม2.เบิกวัตถุดิบทางตรงและทางอ้อม • 2.เบิกวัตถุดิบตัดบัญชีวัตถุดิบ(103) ทันที • วันที่ 5 มกราคม. ฝ่ายโรงงานเบิกวัตถุดิบทางตรง 1,500 บาท และวัตถุดิบทางอ้อม 500 บาท ไปใช้ผลิต • Dr.บัญชีงานระหว่างผลิต(104) วัตถุดิบทางตรง • Dr.บัญชีค่าใช้จ่ายการผลิต(504) วัตถุดิบทางอ้อม • Cr.บัญชีวัตถุดิบ(103)

  22. 3.เมื่อผลิตสินค้าเสร็จ3.เมื่อผลิตสินค้าเสร็จ • Cr.บัญชีค่าเสื่อมราคาสะสม-อาคาร(123) • Cr.บัญชีค่าเสื่อมสะสม-เครื่องจักรอุปกรณ์(125) • Cr.ตัดบัญชีค่าประกันภัยจ่ายล่วงหน้า(107) • Cr.ตัดบัญชีเงินสด(101) สำหรับค่าน้ำค่าไฟฟ้า • Dr.บัญชีค่าใช้จ่ายการผลิต(504)

  23. 4.เมื่อผลิตสินค้าเสร็จ4.เมื่อผลิตสินค้าเสร็จ • 4.เมื่อผลิตสินค้าเสร็จ ตั้งเบิกเงินเดือนและค่าแรงงาน จะเดบิตบัญชีเงินเดือนและค่าแรงจ่าย(502) • วันที่ 25 มกราคม.รายการที่ 2. ฝ่ายการเงินของบริษัทตั้งเบิกเงินเดือนและค่าแรงงาน เป็นจำนวนทั้งสิ้น 5,000 บาท • Dr.บัญชีเงินเดือนและค่าแรงจ่าย(502) 5,000 • Cr.บัญชีเงินเดือนและค่าแรงค้างจ่าย(203)5,000

  24. การปรับปรุงบัญชีระบบต่อเนื่องการปรับปรุงบัญชีระบบต่อเนื่อง

  25. 5.วิเคราะห์เงินเดือนและค่าแรงที่จ่าย 5.วิเคราะห์เงินเดือนและค่าแรงที่จ่าย • วันที่ 25 มกราคม.รายการที่ 3. ฝ่ายการเงิน โดยแผนกบัญชีต้นทุนของบริษัทได้ทำการวิเคราะห์เงินเดือนและค่าแรงงานที่จ่ายทั้งสิ้น โดยมีรายละเอียดดังนี้ค่าแรงงานทางตรง 1,500 บาท ค่าแรงงานทางอ้อม 700 บาท เงินเดือนฝ่ายขายและบริหาร 2,800 บาท • Dr.บัญชีงานระหว่างผลิต(104) ค่าแรงตรง • Dr.บัญชีค่าใช้จ่ายการผลิต(504) ค่าแรงอ้อม • Dr.บัญชีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร(505) • Cr.บัญชีเงินเดือน(502)

  26. 6.บันทึก Cr. ค่าใช้จ่ายการผลิต (504) • วันที่ 25 มกราคม.รายการที่ 4. ปรับปรุงบัญชี • Dr.บัญชีงานระหว่างผลิต(104)8,700 • Cr.บัญชีค่าใช้จ่ายการผลิต(504) 500(จากวันที่5) • Cr.บัญชีค่าใช้จ่ายการผลิต(504)7,500(รายการ1) • Cr.บัญชีค่าใช้จ่ายการผลิต 504700 (รายการ3)

  27. 7.ปรับปรุงบัญชีสินค้าสำเร็จรูป7.ปรับปรุงบัญชีสินค้าสำเร็จรูป • 7.ตัดบัญชีงานระหว่างผลิต (104) ให้เป็นDr. บัญชีสินค้าสำเร็จรูป (105)ตามสินค้าที่ผลิตได้ • วันที่ 25 มกราคม.รายการที่ 5. เมื่อผลิตสินค้าเสร็จพบว่างานระหว่างผลิตเหลืออยู่ 400 บาท ปรับปรุงบัญชีงานระหว่างผลิต ให้เป็นบัญชีสินค้าสำเร็จรูป (มีสินค้าสำเร็จรูปที่ผลิตขึ้นได้คิดเป็น 23,800บาท) • Dr. บัญชีสินค้าสำเร็จรูป(105) 23,800 • Cr. บัญชีงานระหว่างผลิต(104) 23,800

  28. 8.เมื่อขายสินค้าระบบต่อเนื่อง8.เมื่อขายสินค้าระบบต่อเนื่อง • เมื่อขายสินค้าระบบต่อเนื่อง • วันที่ 31. รายการที่ 6. บริษัทได้ขายสินค้าไป 154 ชิ้น โดยได้รับเงินสดทั้งสิ้น 43,200บาทสินค้าที่ขายมีราคาทุนชิ้นละ 200 บาท • Dr.บัญชีเงินสด(101)43,200 • Cr.บัญชีรายได้ 401 43,200 • Dr.บัญชีต้นทุนสินค้า(501) 30,800 • Cr.บัญชีสินค้าสำเร็จรูป(105) 30,800

  29. 9.ปรับปรุงค่าใช้จ่ายการขายและบริหาร9.ปรับปรุงค่าใช้จ่ายการขายและบริหาร • วันที่ 31 มกราคม.รายการที่ 7. ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ที่เกิดขึ้นมี ค่าเสื่อมราคา-อาคาร 1,000 บาท ค่าเสื่อมราคา-อุปกรณ์ 100 บาทค่าประกันภัย 200 บาทค่าใช้จ่ายอื่นจ่ายเงินสด 2,000 บาท • Dr.บัญชีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร (505) • Cr.บัญชีค่าเสื่อมราคาสะสม-อาคาร (123) • Cr.บัญชีค่าเสื่อมสะสม-เครื่องจักรอุปกรณ์ (125) • Cr.ตัดบัญชีค่าประกันภัยจ่ายล่วงหน้า (107) • Cr.ตัดบัญชีเงินสด (101) เช่น ค่าน้ำค่าไฟฟ้า

  30. 10.คำนวณภาษี • วันที่ 31. รายการที่ 8. ประมาณการภาษีเงินได้สำหรับเดือนมกราคมได้เท่ากับ 100 บาท • Dr. บัญชีค่าภาษี(506) • Cr. บัญชีค่าภาษีค้างจ่าย(202)

  31. COST ตามระบบการสะสมทุนแบบสิ้นงวด • Dr.บัญชีค่าแรงทางตรง(503) -ค่าแรงทางตรงDr.บัญชีค่าใช้จ่ายการผลิต(504) -ค่าแรงทางอ้อม • สิ้นงวดปรับปรุง Dr. บัญชีสินค้าสำเร็จรูป(105) จาก-บัญชีค่าแรงงานทางตรง(503) -บัญชีค่าใช้จ่ายการผลิต(504) -บัญชีวัตถุดิบ(103)ต้นงวด +ซื้อ -ปลายงวด -บัญชีงานระหว่างผลิต(104)ต้นงวด-ปลายงวด

  32. COST ตามระบบการสะสมทุนแบบต่อเนื่อง • Dr.บัญชีงานระหว่างผลิต(104) มาจาก-วัตถุดิบทางตรง-ค่าแรงทางตรง-ค่าใช้จ่ายการผลิต ได้แก่ วัตถุดิบทางอ้อม ค่าแรงทางอ้อม ค่าน้ำค่าไฟ • Dr.บัญชีสินค้าสำเร็จรูป (105) มาจากCr.บัญชีงานระหว่างผลิต(104)

  33. เชิญซักถาม

More Related