210 likes | 319 Views
หลักการสร้างร้านค้าออนไลน์. Ch 5 How to build online retailing (e-Tailer) Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya Marketing Department Payap University. การสร้างร้านค้าออนไลน์. การวางแผนธุรกิจ (Business Plan) การวางแผนการตลาดอีเล็กทรอนิกส์ เทคนิคการสร้างเว็บเพจร้านค้า การจัดทำแคตตาลอกออนไลน์
E N D
หลักการสร้างร้านค้าออนไลน์หลักการสร้างร้านค้าออนไลน์ Ch 5 How to build online retailing (e-Tailer) Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya Marketing Department Payap University
การสร้างร้านค้าออนไลน์การสร้างร้านค้าออนไลน์ • การวางแผนธุรกิจ (Business Plan) • การวางแผนการตลาดอีเล็กทรอนิกส์ • เทคนิคการสร้างเว็บเพจร้านค้า • การจัดทำแคตตาลอกออนไลน์ • ระบบตะกร้า (Shopping Cart System) • การจดทะเบียนชื่อร้าน • การนำเว็บไซต์ร้านค้าเข้าสู่ระบบอินเตอร์เนต • การใช้ระบบร้านค้าออนไลน์สำเร็จรูป (Automatic Instant e-Commerce) • ตัวอย่างผู้ให้บริการร้านค้าสำเร็จรูป
Business Plan • ความสำคัญของแผนธุรกิจ • แผนธุรกิจมีความอย่างยิ่งต่อการดำเนินกิจการของทุกองค์กรเพราะเป็นเหมือนเครื่องนำทางให้ไปสู่เป้าหมายที่องค์กรได้ร่วมกันกำหนดไว้ ใน วิสัยทัศน์ พันธะกิจและวัตถุประสงค์ขององค์กร • องค์ประกอบของแผนธุรกิจ • การวิเคราะห์สถานการณ์และสภาพแวดล้อมภายนอก ภายใน และการแข่งขันของธุรกิจ • การกำหนดวิสัยทัศน์ พันธะกิจและวัตถุประสงค์ของธุรกิจ • การกำหนดตลาดเป้าหมาย พื้นที่อาณาเขตการขายและตำแหน่งทางการตลาด • การกำหนดกลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาด (e-Marketing Plan) • การวางแผนโปรแกรมทางการตลาดและค่าใช้จ่ายทางการตลาด • การกำหนดแผนการผลิต (กรณีเป็นธุรกิจผลิตสินค้าหรือบริการ) • การจัดการองค์กรและการบริหารงานบุคคล • การงบประมาณหรือแผนการเงิน
E-Marketing Plan • ระบุชนิดสินค้าหรือบริการได้อย่างชัดเจน • กำหนดตราสินค้าหรือโดเมนเนม • ระบุพื้นที่อาณาเขตการขายทางภูมิศาสตร์ • ระบุกลุ่มเป้าหมายทางอินเตอร์เนต • ค้นหาข้อได้เปรียบหรือจุดอ่อนของผลิตภัณฑ์เมื่อเทียบกับคู่แข่ง • พยากรณ์การขายรายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน รายปี • กำหนดราคาจำหน่ายสินค้า
E-Marketing Plan • ระบุชื่อคู่แข่งในอินเตอร์เนต • เปรียบเทียบราคาสินค้าหรือบริการกับคู่แข่ง • กำหนดวิธีการกระจายสินค้าและค่าขนส่ง • กำหนดนโยบายความปลอดภัยและภาษีให้ชัดเจน • ระบุวิธีการส่งเสริมการตลาดหรือกิจกรรมทางการตลาด • จัดตารางเวลาในการทำกิจกรรมทางการตลาด • งบประมาณทางการตลาด
แนวทางในการจัดทำเว็บไซต์แนวทางในการจัดทำเว็บไซต์ 1.ใช้ Tools สำเร็จรูป Ecombot.com , velocal.com , quickwww.com 2. Outsourcing จ้างบริษัทภายนอกผลิตตามต้องการ 3. ผลิตเองด้วยโปรแกรมช่วยสร้างเว็บเพจ หรือ เขียน Code HTML เอง เช่น MS-Frontpage , Macromedia Dreamweaver , Namo , ASP.net , PHP , Java Code - ผลิตโดยเจ้าของ / ผู้บริหาร - จ้างโปรแกรมเมอร์ไว้ในองค์กร
เทคนิคการสร้างเว็บเพจร้านค้าเทคนิคการสร้างเว็บเพจร้านค้า • พิจารณาวัตถุประสงค์ “ทำเพื่ออะไร” • รูปแบบหรือ Style “ต้องตอบสนองลูกค้าและตรงกลุ่มเป้าหมาย” • ลูกเล่น “เร็วและครบถ้วน” • ต้องโหลดเร็ว ภายใน 8-15 sec ดึงดูดใจให้ได้ก่อนโหลดเสร็จ • ควรใช้รูปหรือสัญลักษณ์มากกว่าคำบรรยาย • สำหรับหน้าแรก อย่าใส่ภาพใหญ่ ควรใช้ภาพเล็ก • ควรเปิดทางเลือกให้ผู้ชม ไม่ควรบังคับให้ไปทางใดทางหนึ่งเสมอ เช่น พาไปหน้าลงทะเบียนตลอดเวลา • ออกแบบให้เป็นมิตรกับผู้ชม (User Friendliness) ใช้งานง่าย
เทคนิคการสร้างเว็บเพจร้านค้าเทคนิคการสร้างเว็บเพจร้านค้า • ควรเป็นเว็บที่ให้อะไรกับสังคมบ้าง เช่น ข่าวสาร • อย่าให้เว็บเพจยาวเกิน 3 หน้าจอ หรือ 1 A4 เพื่อประโยชน์ในการโหลดเร็วและ Print out ได้ง่าย • ในกรณี Text ควรใช้วิธีเขียนเป็นคอลัมน์ (500pixel) • ควรออกแบบให้สนองตอบต่อ IE หรือ Netscape ทุก Version ได้ • ควรออกแบบให้ง่ายต่อการ Update และการบำรุงรักษา • เลือกผู้ให้บริการ Host ที่ดี และมีความเร็ว
การจัดทำออนไลน์แคตตาลอก (Online Catalog) • นำเอา Catalog ทั้งเล่มไปไว้ในเว็บไซต์ • สร้างออนไลน์ Catalog ด้วย Database เช่น java , apache , php • จัดทำระบบค้นหา Search System เพื่อสร้างความสะดวกในการค้นหาสินค้าที่ต้องการได้รวดเร็วมากขึ้น ข้อมูลต่างๆของสินค้าควรอยู่ในรูปของ Database การแยกประเภทของสินค้า ราคา สี ขนาด ค่าขนส่ง วัสดุต่างๆ จะได้แยกกันอย่างชัดเจนคนละคอลัมน์ (Field) จึงทำให้สามารถ Search หาชื่อหรือคุณสมบัติต่างๆ ของสินค้าได้ ด้วยคำสั่งในระบบ DBMS หรือ คิวรี่ (Query)
ระบบตะกร้า (Shopping Cart System) • ระบบตะกร้าคือระบบการรับคำสั่งซื้อจากหน้าจอ (Ordering System) แล้วประมวลผลส่งข้อมูลสู่ระบบชำระเงิน • เป็นไฟล์โปรแกรมประเภท .pl , .asp , .cgi • เป็นระบบใช้ส่งค่าข้อมูลต่างๆ เช่น รหัสสินค้า ราคาสินค้า เข้าไปในระบบประมวลผลเพื่อคำนวณผลลัพธ์ • วิธีการใช้งานเหมือนกับการไป Shopping ตามห้างแล้วหยิบสินค้าลงตะกร้าเข็น ตัวเลขราคาสินค้าจะถูกบวกรวมกันทุกครั้งที่สินค้าเข้ามาอยู่ในตะกร้า สามารถปรับเปลี่ยนได้ตราบเท่าที่ยังไม่ Submit
ระบบตะกร้า (Shopping Cart System) Choose and Drop Optional Addressing and Submit Cart System
Shopping Cart System ; Optional http://www.3dcake.com
Shopping Cart System;Choose & Drop http://www.3dcake.com
Shopping Cart System ; Cart http://www.3dcake.com
Shopping Cart System ; Addressing http://www.3dcake.com
การจดทะเบียนชื่อร้าน (Registry Domain name) • Domain Name = Web Address = URL • URL ; Unify Resource Locators • ควรตั้งชื่อให้เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมที่เราทำ • พยายามใช้ชื่อที่สะกดง่ายๆ หรือเป็นชื่อที่เดาง่าย • สากลใช้ .com, .net ถ้าเป็นบริษัทไทย ใช้ co.th , .in.th • อย่าสร้างสัญลักษณ์ประหลาดโดยไม่จำเป็นเช่น - #!- • ควรใช้ชื่อที่มีคำว่า Thai > Siam • การจดสามารถดูรายละเอียดได้ที่ www.thainic.net
การนำเว็บไซต์ร้านเข้าสู่ระบบอินเตอร์เนตการนำเว็บไซต์ร้านเข้าสู่ระบบอินเตอร์เนต Domain + Web pages + Hosting = Website • พิจารณาที่ตั้งของคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Host) • อัตราเร็วในการส่งข้อมูลของ Host > 45 Mbps • การให้บริการพื้นที่เก็บข้อมูลเว็บเพจ > 20, 50 , 100 MB) • การให้บริการประมวลผลโปรแกรมพิเศษ เช่น CGI (Common Gate Way Interface หรือ Active Server pages ; ASP) เช่น โปรแกรมนับผู้เข้าเยี่ยมชม หรือโปรแกรมคำนวณค่าสินค้ากลับมาที่หน้าจอ • ต้องมีบริการแบบ e-Commerce คือ online Catalog , Shopping Cart System , Security Payment (SSL)
การนำเว็บไซต์ร้านค้าเข้าสู่ระบบอินเตอร์เนตการนำเว็บไซต์ร้านค้าเข้าสู่ระบบอินเตอร์เนต • พิจารณาว่าผู้ให้บริการ สามารถให้คำปรึกษาด้านการดูแลรักษาเว็บไซต์ และ/หรือปัญหาทางธุรกิจได้หรือไม่ • พิจารณาการให้จำนวนบัญชี e-Mail และต่อท้ายด้วยชื่อโดเมนของเราได้ เช่น myname@mycompany.com • ยินยอมให้ปรับแต่งแก้ไข Upload File เข้าออก Server ด้วยตนเอง (Virtual Web Server) สามารถทำได้โดยการใช้โปรแกรมโอนย้ายข้อมูล (ftp Program) ได้ • พิจารณาระบบรักษาความปลอดภัยข้อมูลของผู้ให้บริการและแนวทางในการสำรองข้อมูล (Back Up File) ของผู้ให้บริการ
การใช้ระบบร้านค้าออนไลน์สำเร็จรูปการใช้ระบบร้านค้าออนไลน์สำเร็จรูป ร้านค้าออนไลน์สำเร็จรูป(Automatic Instant e-Commerce / DIY Do-it-yourself) ในปัจจุบันเมื่อ e-Commerce เติบโตขึ้น จึงมีผู้ให้บริการอีคอมเมิร์ส (EC-Service Provider) หลายราย ผลิตโปรแกรมสำเร็จรูปขึ้นมาเพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถผลิตเว็บไซต์ได้เองอย่างง่ายๆ โดยคาดหวังรายได้จากค่าบริการการเช่าโฮสต์ หรือบริการอื่นๆส่วนใหญ่มีลักษณะที่คล้ายๆกันคือ • เป็นระบบที่ทำงานร่วมกับฐานข้อมูล • สามารถ Update ข้อมูล เพิ่มสินค้าใหม่ๆ ได้ด้วยตัวเอง • มีบริการโปรโมชั่นเว็บให้ • มีระบบ Tracking System ช่วยติดตามสินค้าให้ด้วย • ค่าเช่ารายเดือนขึ้นกับปริมาณสินค้าที่บรรจุในเว็บเพจ
ตัวอย่างของผู้ให้บริการร้านค้าอัตโนมัติสำเร็จรูปตัวอย่างของผู้ให้บริการร้านค้าอัตโนมัติสำเร็จรูป • http://www.ecombotthailand.com • เป็นเว็บไซต์ที่มีระบบการให้บริการสร้างร้านค้าบน Shoppingmall มีลักษณะเป็น Sub-domain ของ www.shoppingthai.comข้อดีคือราคาถูกและเปลี่ยนค่าเช่าตามรายการสินค้าที่เพิ่มขึ้น และช่วยโปรโมทเว็บให้ ข้อเสียคือ ไม่ได้ใช้ชื่อ Domain ของตัวเอง ลูกค้าจดจำยาก • http://www.velocal.com • มีลักษณะเหมือนเว็บดังกล่าวข้างต้น แต่ใช้ชื่อ Mall ว่า Veloshopping • http://www.quickwww.com • เป็นเว็บไซต์สร้างร้านอัตโนมัติที่ตั้ง Domain Name เองได้ และเป็นอิสระจาก Mall ไม่ผูกพันกับ Host แต่ต้องโปรโมทเว็บเอง เสียค่าบริการในการสร้างแพงกว่า