620 likes | 1.07k Views
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น. Introduction to Information technology. รหัสและชื่อวิชา ทส. 1101 เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น Course Code / Name INT 1101 Introduction to Information technology. หน่วยกิต 3 หน่วยกิต. อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ปรมินทร์ เพ็ชรมณี. คำอธิบายรายวิชา
E N D
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น Introduction to Information technology
รหัสและชื่อวิชาทส. 1101 เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น Course Code / Name INT 1101 Introduction to Information technology หน่วยกิต 3 หน่วยกิต อาจารย์ผู้สอนอาจารย์ปรมินทร์ เพ็ชรมณี คำอธิบายรายวิชา Course Description หมายถึงการนำเทคโนโลยีนำมาใช้งานที่เกี่ยวกับการประมวลผลข้อมูล เพื่อให้ได้มาเป็นสารสนเทศ ซึ่งเทคโนโลยีที่ใช้เป็นการผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีการสื่อสารเพื่อช่วยในการติดต่อสื่อสาร และการส่งผ่านข้อมูลและสารสนเทศให้สะดวกมากยิ่งขึ้น
OBJECTIVE 1. เพื่อศึกษาหลักการพื้นฐานของเทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น 2. เพื่อศึกษากระบวนการของสารสนเทศต่าง ๆ 3. เพื่อศึกษาและการประยุกต์การนำสารสนเทศใช้งานจริง ๆ
การวัดผลการเรียน การวัดผลการเรียน Assignment + Project + Quiz 20 คะแนน Evaluation สอบกลางภาค 20 คะแนน สอบปลายภาค 60คะแนน รวม 100 คะแนน
วิธีการสอน Teaching Methodการสอนภาคทฤษฎี และใช้โปรแกรมนำเสนอภาพนิ่งประกอบคำบรรยาย ห้องเรียน 6203 วัน – เวลาสอน- ห้องเรียนS.1 วันอังคารเวลา 09.00 – 12.00 น. ห้อง 6203 Day-Time-Room(Teaching) วัน – เวลาสอบ Day-Time Examination (กลางภาค) วันจันทร์ที่ 5 สิงหาคม 2551 เวลา 08.30 - 11.30 น. (Midterm) (ปลายภาค) วันศุกร์ที่ 07 ตุลาคม 2551 เวลา 08.30 - 11.30น. (Final)
หัวข้อบรรยาย (TOPICS) ครั้งที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (Introduction To Computer) ครั้งที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ (Introduction to Information Technology) ***ครั้งที่ 3*** ฮาร์แวร์คอมพิวเตอร์ (Hardware Computer) ครั้งที่ 4 ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ (Software Computer) ครั้งที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network and Communication) ***ครั้งที่ 6*** การจัดเก็บข้อมูลลงไฟล์และฐานข้อมูล (Storage Data In File And Database) ครั้งที่ 7 อินเทอร์เน็ตและระบบสารสนเทศองค์กร (Internet And Information System)
หัวข้อบรรยาย (TOPICS) ครั้งที่ 8 ระบบจำนวนและการแทนค่าข้อมูลในคอมพิวเตอร์ (Number System and Sign Representation ) ***ครั้งที่ 9*** ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Virus Computer) ครั้งที่ 10 การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Development Information System) ครั้งที่ 11 อัลกอรึทึมและการแก้ปัญหาโจทย์ทางคอมพิวเตอร์ ***ครั้วที่ 12*** การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร และการ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Implementation Information Technology and for Management and E-Commerce) ครั้งที่ 13 ความปลอดภัยทางคอมพิวเตอร์ (Computer Security) ครั้งที่ 14 บุคลากรและจริยธรรม (People ware Ethics)
วัน – เวลาสอบ Day-Time Examination (กลางภาค)วันจันทร์ที่ 05 สิงหาคม พ.ศ. 2551 เวลา 08.30 – 11.30 น. (Midterm) (ปลายภาค) วันศุกร์ที่ 07 ตุลาคม 2551 เวลา 08.30 – 11.30 น. (Final) หนังสือและเอกสารประกอบการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ทส.1101 โดย อาจารย์ปรมินทร์ เพ็ชรมณี 2.คัมภีร์ระบบสารสารสนเทศ (Information System) โดย กิตติ ภักดีวัฒนกุล 3.หนังสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น 4.คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่อุษณีย์ ภักดีตระกูลวงศ์
CHARPTER 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น Information Technology
สาระการเรียนรู้ 1.ความหมายของคอมพิวเตอร์ 2.วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ 3.ยุคของคอมพิวเตอร์ 4.ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์ 5.ความสามารถของคอมพิวเตอร์ 6.รูปแบบการประมวลผลของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คืออะไร คือ อุปกรณ์ที่ประกอบด้วยชิ้นส่วนทางอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถรับข้อมูลและชุดคำสั่ง (Program) ในรูปแบบแบบที่เครื่องรับได้ แล้วนำมาประมวลผล (Process) ข้อมูลตามชุดคำสั่งเพื่อแก้ปัญหา หรือ ทำการคำนวณที่สลับซับซ้อนจนได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ และยังสามารถบันทึก หรือแสดงผลลัพธ์เหล่านั้นได้
ยุคของคอมพิวเตอร์ ยุคของคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็น 4 ยุค ได้แก่ • ยุคที่ 1 (ค.ศ.1945-1955) เป็นยุคคอมพิวเตอร์พื้นฐาน ที่เป็นหลอดสุญญากาศ ในหลอดสูญญากาศ ประกอบด้วย 18,000 หลอด สามารถ บวกเลขได้ 5,000 ครั้ง แต่ยังมีขนาดใหญ่มาก • ยุคที่ 2 (ค.ศ.1955-1964) เป็นยุคคอมพิวเตอร์ที่นำทรานซิสเตอร์ ช่วยคอมพิวเตอร์สามารถคำนวณน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น ราคาสูงส่วนใหญ่ ตามหน่วยงานราชการ , มหาวิทยาลัย เริ่มพัฒนาภาษาใช้งาน ได้แก่ FORTRAN , COBOL ลักษณะการทำงานเป็น Batch Processing
วิวัฒนาการของเครื่องคอมพิวเตอร์ • เริ่มแรก การนับนิ้ว การใช้เศษไม้และก้อนหิน ลูกคิด • ในปี ค.ศ. 1671 3 นักวิจัย John Napier สร้างเครื่องคิดเลขที่ชื่อว่า “Napier’s Bones” Henry Briggs คิดค้นแบบคำนวณตารางลอการิทึม Edmund Gunter ได้นำค่าลอการิทึมของ Briggs มาแกะลงไม้ บรรทัด
ในปี ค.ศ. 1792 - 1871 Charles Babbage“ อนาไลติคัล เอ็นจิน ” ซึ่งมีเครื่องคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบันคือมีหน่วยรับส่งข้อมูล , หน่วยควบคุม , หน่วยความจำ โดยจะใช้บัตรเจาะรูเป็นส่วนในการรับและแสดงผล
ยุคที่ 3 (ค.ศ.1965-1980) เริ่มมีการคิดค้นผลิต IC (Integrated Circuit) ทำให้คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลง และมีการพัฒนาภาษาขั้นสูง เช่น เช่น BASIC , PASCAL , FORTRAN ) แต่มีข้อจำกัดทางด้าน มัลติโปรแกรมแกนมิ่ง (Multiprogramming) และ มัลติโปรเซสซิ่ง (Multiprocessing) แต่ก็เริ่มมีระบบเรียลไทม์ (Real-time System) การแชร์เวลา (TimeSharing) และระบบปฏิบัติการแบบ Vistual Storage Single-Mode) ระบบปฏิบัติการที่ใช้เป็น Unix
ยุคที่ 4 (ค.ศ.1972 – 1984) เป็นยุคคอมพิวเตอร์ที่ทำงานได้แบบทั้งมีซับซ้อนสูงและมีการประมวล ผลสูง ลักษณะคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 4 สามารถ • ไมโครโพรเซสเซอร์ (Microcessor) • หน่วยประมวลผลกลาง CPU (Central Processing Unit : CPU) ประกอบด้วย รีจิสเตอร์ (Register) หน่วยควบคุม (Control Unit) หน่วยคำนวณทางคณิตศาสตร์และตรรกะ (ALU : Arithmetic and Logical Unit) • คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
ยุคที่ 5 (ค.ศ.1984 – 1990) เป็นยุคคอมพิวเตอร์ที่ทำงานได้แบบทั้งมีซับซ้อนสูงและมีการประมวล ผลสูง ลักษณะคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 4 แต่พัฒนาความสามารถในด้านการโต้ตอบ กับผู้ใช้ (GUI:Graphic User Interface) ในดูง่ายมากขึ้น มีการติดตั้งระบบต่าง ๆ • เครือข่ายอินทราเน็ต (Intranet) • อินเตอร์เน็ต (Internet) • เครือข่ายระยะใกล้ (LAN:Local Area Network) • เครือข่ายระยะไกล (WAN:Wide Area Network) • ผลิตคอมพิวเตอร์โน็ตบุ๊ค (Notebook) • สามารถพัฒนาโปรแกรมเชิงภาษาวัตถุ (Object Oriented Programming)
ยุคปัจจุบัน (ค.ศ.1990 – อนาคต) เป็นยุคของเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทกับคอมพิวเตอร์มากยิ่งขึ้นซึ่งคอมพิวเตอร์ในยุคนี้สามารถสามารถเรียนแบบความคิดของมนุษย์ ซึ่งนำ ไปสู่ในยุคของคอมพิวเตอร์คิดเองได้ 1.ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligent : AI) 2.ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System :: DSS) 3.ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System :ES) 4.การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing : NLP) 5.โครงข่ายใยประสาทเสมือน (Artificial Neural) 6.ตรรกะคลุมเครือ (Fuzzy Logic)
ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่ง เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานด้านต่าง แบ่งเป็น 7 ประเภทดังนี้ ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดและมีการประมวลมากถึง 100 ล้านคำสั่งต่อวินาที
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่รองลงมาจาก SuperComputer มี ความเร็วในการประมวลผลสูงสามารถทำงานในลักษณะ Muti-User
มินิคอมพิวเตอร์ (MINI Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดอยู่ระหว่างเมนเฟรมกับไมโครคอมพิวเตอร์ แต่ความเร็วในการประมวลผลน้อยกว่าเครื่อง เมนเฟรมและทำงานช้ากว่า มินิคอมพิวเตอร์เหมาะกับงานที่ข้อมูลเป็นจำนวนมาก ๆ และการรองรับ การใช้งานได้ หลาย USER
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer : PC) เป็นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่นิยมกันอย่างแพร่หลายในยุคปัจจุบัน ได้แก่ เครื่อง IBM ตระกูล 486 เป็นต้นมาปัจจุบันเป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ชิปประมวลผลเป็น Pentium , AMD ,Celeron , Dual Call CPU เป็นต้น
คอมพิวเตอร์โน็ตบุ๊ค (ComputerNotebook) ลักษณะการทำงานคล้ายกับ Personal Computer แต่จุดเด่นของโน็ตบุ๊ค คือ น้ำหนักเบา พกพาสะดวก ลักษณะของโน็ตบุ๊ค คือคีย์บอร์ดและเมาส์จะติดอยู่ที่ตัว คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ แทปเลท (Tablet Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีลักษณะของคอมพิวเตอร์คล้ายกับ NoteBook มีขนาด เล็กกว่า น้ำหนักเบาแต่คุณสมบัติที่แตกต่างของแทปเลทคือการป้อนข้อมูลสามารถ ป้อนข้อมูลทางจอภาพได้โดยใช้ปากกาเขียนลงไปและมีโปรแกรมช่วงแปลงอักษร ให้เหมือนกับการพิมพ์ทางคีย์บอร์ด
คอมพิวเตอร์ ขนาดพกพา (Tablet Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีลักษณะของคอมพิวเตอร์คล้ายกับ NoteBook มีขนาด เล็กกว่า NoteBook มีขนาดเท่าฝ่ามือ โดยส่วนใหญ่แล้วจะใช้สำหรับงาน เช่น ตารางเวลา ปฏิทินนัดหมาย สมุดโทรศัพท์ เป็นต้น
ความสามารถของคอมพิวเตอร์ความสามารถของคอมพิวเตอร์ • ด้านความเร็วในการประมวลผลข้อมูล (Speed) • ด้านความถูกต้องแม่นยำ (Accuracy) • ด้านความน่าเชื่อถือ (Rellability) • ด้านการเก็บข้อมูล (Storage) • ด้านการย้ายข้อมูล (Move Information) • ด้านการสื่อสาร (Communication) • ด้านการทำงานหลายอย่าง ๆ เป็นต้น
ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 2 ส่วน คือ ไมโครโพรเซสเซอร์ (Microprocessor) หน่วยความจำหลัก (Memory) หน่วยระบบ ย้อนกลับ
อุปกรณ์รับเข้า/ส่งออกอุปกรณ์รับเข้า/ส่งออก • อุปกรณ์รับเข้าที่นิยม ได้แก่ • คีย์บอร์ด • เมาส์ • อุปกรณ์ส่งออกที่นิยม ได้แก่ • จอภาพ • เครื่องพิมพ์ ย้อนกลับ
หน่วยความจำสำรอง • ปิดเครื่องแล้วยังสามารถเก็บข้อมูลและโปรแกรมไว้ได้ • ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน คือ • ฟล็อปปี้ดิสก์ • ฮาร์ดดิสก์ • ออปติคัลดิสก์ (จานแสง) ย้อนกลับ
อุปกรณ์สื่อสาร • ช่วยให้ไมโครคอมพิวเตอร์สามารถสื่อสารถึงกันได้ • “โมเด็ม” เป็นอุปกรณ์สื่อสารที่นิยมใช้ • ทำหน้าที่แปลงสัญญาณจากเครื่องคอมพิวเตอร์ให้สามารถผ่านทางสายโทรศัพท์ได้ • ในขณะเดียวกันก็สามารถแปลงสัญญาณจากสายโทรศัพท์ให้เป็นสัญญาณที่เครื่องสามารถประมวลผลได้ ย้อนกลับ
รูปแบบการประมวลผลของคอมพิวเตอร์รูปแบบการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ • การประมวลผลส่วนบุคคล (Personal Computer) • การประมวลผลแบบรวมศูนย์ (Centralized Computing) • การประมวลผลแบบกระจาย (Distributed Computing)
การประมวลผลส่วนบุคคล (Personal Computer) เป็นการประมวลกับกับเครื่อง คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลโดยตรง ซึ่งช่วย ในด้านการจัดเก็บข้อมูลลงสู่คอมพิวเตอร์ ,ช่วยให้ปฏิบัติงานให้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น
การประมวลผลแบบรวมศูนย์ (Centralized Computing) เป็นการประมวลโดยนำข้อมูลจากเครื่องปลายทางมารวมศูนย์กลางเครื่อง Server แล้วค่อยทำการประมวลผลแล้วส่งกับไปยังเครื่อง Teminal อีกครั้ง
TERMINAL TERMINAL SERVER TERMINAL TERMINAL
การประมวลผลแบบกระจาย (Distributed Computing) เป็นการประมวลโดยสามารถแชร์ข้อมูลที่อยู่รวมกัน , สามารถแบ่งทรัพยากร รวมกันได้โดยส่วนใหญ่จะเป็นงานแบบ Client-Server
SERVER SERVER
การเชื่อมโยงกับอินเตอร์เน็ตแบบ Web - Server INTERNET ISP
CHARPTER 2 เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น (Information Technology)
นิยามคำจำกัดความของคำว่า IT สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านกระบวนการเก็บรวบรวมและเรียบเรียงเพื่อใช้เป็น แหล่งข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ เช่น การนำเสนอยอดขายรายเดือนต่อผู้บริหาร เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง การนำความรู้ทางด้านวิทยศาสตร์หรือความรู้แขนงอื่น ๆ ที่ได้ จัดระเบียบไว้แล้วนำมาประยุกต์ใช้งานด้านใดด้านหนึ่งเพื่อให้ใช้งานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
สาระการเรียนรู้ • คำจำกัดความของคำว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ (Technology) , สารสนเทศ (Information) • วิธีการกระบวนการเปลี่ยนแปลงข้อมูลกลายเป็นระบบสารสนเทศ • เพื่อให้เข้าใจถึงคำว่าเทคโนโลยีสารสนเทศ • องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ • ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเปลี่ยนแปลงจากข้อมูลกลายเป็นระบบสารสนเทศกระบวนการเปลี่ยนแปลงจากข้อมูลกลายเป็นระบบสารสนเทศ การประมวลผล (Processing) ข้อมูล (DATA) สารสนเทศ (Information) • ตัวเลข • ตัวอักษร • รูปภาพ • รูปถ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หมายถึง การนำมาใช้งานที่เกี่ยวข้องกับการประมวลผลข้อมูลเพื่อให้ ได้เป็นสารสนเทศ ซึ่งเทคโนโลยีดังกล่าวเป็นการผสมผสานระหว่างเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ กับเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารและการส่งผ่านข้อมูลและสารสนเทศ ให้สะดวกรวกเร็วมากยิ่งขึ้น
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศมีส่วนประกอบด้วยกันทั้งหมด 5 ส่วนได้แก่ • ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คือ อุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์ • ซอฟต์แวร์ (Software) ได้แก่ OS , Application Software , Utility Software , อื่น • เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการติดต่อสื่อสาร คือ ระบบ เครือข่าย (Computer Network and Communication) • ข้อมูลและฐานข้อมูล (Data and Database) ได้แก่ ฐานข้อมูลประวัตินักศึกษา
บุคลากร (People) ซอฟต์แวร์ (Software) ฮาร์ดแวร์ (Hardware) 4. ระเบียบปฏิบัติการ (Procedure) 5. ข้อมูล (Data) องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
บุคลากร • เป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุด • เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ • โดยตรง • โดยอ้อม • คอมพิวเตอร์ใช้ในงาน • ธุรกิจ&บันเทิง • การศึกษา&การแพทย์
ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบันความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน 1.ช่วยเพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพในการทำงาน คือ สามารถให้องค์กรทำงานร่วมกันได้ 2.ช่วยจัดระบบสารสนเทศที่มีอยู่อย่างมากมายให้เป็นระเบียบ คือ สะดวกรวดเร็ว,ง่ายกับการจัดเก็บ การค้นหาข้อมูล 3.ช่วยให้การติดต่อสื่อสารระหว่างกันมีความรวดเร็วมากยิ่งขึ้น เช่น อินเตอร์เน็ต , อินทราเน็ต 4.ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเป็นอัตโนมัติ เช่น การโอน,ถอน,ฝากเงิน ผ่าน ATM , การสั่งซื้อสินค้าออนไลด์ , RFID 5.เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้มีการกระจายโอกาสการเรียนรู้ เช่น E-Learning , การรักษาพยาบาล ผ่านเครือข่ายการสื่อสาร , 6.ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำนวณที่ยุ่งยากซับซ้อน , Just-In-Time 7.ช่วยลดจำนวนบุคลากรในการประมวลผลและผลิตสารสนเทศ 8.ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในระยะยาว เช่น ลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางได้แก่ระบบกระทรวงมหาดไทย
สรุปท้ายบทที่1-2 จากเนื้อหา ในบทนี้จะกล่าวถึงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นอย่างไรและศึกษาเกี่ยวกับ ความหมายของคอมพิวเตอร์, วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์,ยุคแต่ละยุคของเครื่องคอมพิวเตอร์,ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ,ความสามารถของคอมพิวเตอร์ , รูปแบบการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์