1 / 21

ทิศทางการวิจัยและพัฒนาการเกษตรในสถาบันวิจัยนานาชาติ พฤกษ์ ยิบมันตะสิริ

ทิศทางการวิจัยและพัฒนาการเกษตรในสถาบันวิจัยนานาชาติ พฤกษ์ ยิบมันตะสิริ “ การปฏิรูปคณะเกษตรศาสตร์ไปสู่การเป็นองค์กรในกำกับของรัฐ ” 3 มีนาคม 2546 คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. CGIAR (Consultative Group on International Agricultural Research) จัดตั้งปี 1971 โดยการสนับสนุนของ

dieter
Download Presentation

ทิศทางการวิจัยและพัฒนาการเกษตรในสถาบันวิจัยนานาชาติ พฤกษ์ ยิบมันตะสิริ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทิศทางการวิจัยและพัฒนาการเกษตรในสถาบันวิจัยนานาชาติทิศทางการวิจัยและพัฒนาการเกษตรในสถาบันวิจัยนานาชาติ พฤกษ์ ยิบมันตะสิริ “การปฏิรูปคณะเกษตรศาสตร์ไปสู่การเป็นองค์กรในกำกับของรัฐ” 3 มีนาคม 2546 คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  2. CGIAR • (Consultative Group on International Agricultural Research) • จัดตั้งปี 1971 โดยการสนับสนุนของ • ภาครัฐ เอกชน และมูลนิธิ • เป็นแม่ข่ายของ 16 ศูนย์วิจัยนานาชาติ • ด้านอาหาร เกษตร และสิ่งแวดล้อม • พันธกิจ • ความมั่นคงทางอาหาร • ลดความยากจน • สร้างความมั่นคงทางอาหารและลดความยากจนโดยการวิจัย, การสร้างพหุพาคี การเพิ่มขีดความสามารถของคน และการสนับสนุนเชิงนโยบาย

  3. ก่อนจะมี CGIAR ศูนย์ ปีจัดตั้ง ปีที่เข้าร่วมกับ CGIAR IRRI 1960 1971 CIMMYT 1966 1971 IITA 1967 1971 CIAT 1967 1971

  4. หลังก่อตั้ง CGIAR: ขยายระบบ ศูนย์ ปีจัดตั้ง ปีที่เข้าร่วมกับ CGIAR ICRISAT 1972 1972 CIP 1970 1973 ILRAD 1973 1973 ILCA 1974 1974 IPGRI 1974 1974 WARDA 1970 1975 ICARDA 1975 1975 ISNAR 1980 1980 IFPRI 1974 1974

  5. เพิ่มความเข้มข้นด้านพันธกิจเพิ่มความเข้มข้นด้านพันธกิจ ศูนย์ ปีจัดตั้ง ปีที่เข้าร่วมกับ CGIAR ICRAF 1977 1991 IIMI 19841991 ICLARM 1977 1992 INIBAP 1984 1992 CIFOR 1993 1993 การเปลี่ยนแปลงโดยการหลอมรวม • ปี 1994: ILCA + ILRAD = ILRI ( International Livestock • Research Institute) • ปี 1994: INIBAP เป็น โปรแกรมหนึ่งใน IPGRI

  6. การเปลี่ยนแปลงใน 3 ทศวรรษ • เพิ่มผลผลิตพืชอาหาร (Forrest Hill) • ขยายงานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเกษตรให้ครอบคลุมด้านนิเวศน์ • เศรษฐกิจและสังคม • เช่น :งานวิจัยด้านปศุสัตว์ งานวิจัยระบบฟาร์ม งานอนุรักษ์ทรัพยากร • พันธุกรรม งานจัดการน้ำ งานวิจัยเชิงนโยบาย ขยายศูนย์จาก • 4 ศูนย์เป็น 13 ศูนย์ • ยกระดับความยั่งยืนโดยการอนุรักษ์และจัดการทรัพยากรอย่างถูกวิธี • เพิ่มผลิตภาพของระบบการผลิตพืชหรือสัตว์ • ปรับปรุงนโยบาย • เพิ่มขีดความสามารถด้านการวิจัยของประเทศสมาชิก 1971-1980 1981-1990

  7. การเปลี่ยนแปลงใน 3 ทศวรรษ (ต่อ) 1991- ปัจจุบัน to contribute to food security and povertyeradication in developing countries through research, partnership, capacity building, and policy support, promoting sustainable agricultural development based on theenvironmentally sound management of natural resources 1992 Rio Earth Summit – Agenda 21 2002 Johannesburg WSSD

  8. เป้าหมายมุ่งเน้นผลสำเร็จของงานวิจัยเป้าหมายมุ่งเน้นผลสำเร็จของงานวิจัย เป้าหมาย ร้อยละของงบประมาณ ปี 1999 • เพิ่มผลิตภาพ 34 • อนุรักษ์ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม 20 • อนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ 10 • (500,000 ตัวอย่าง) • 4. ปรับปรุงนโยบาย 13 • 5. เสริมสร้างศักยภาพการวิจัยของประเทศสมาชิก 23

  9. ศูนย์วิจัยเกษตรนานาชาติในเครือข่ายของ CGIAR จุดเน้น ศูนย์/สถาบัน พืช สัตว์ ปลา ป่าไม้ วนเกษตร ทรัพยากรพันธุกรรมพืช นโยบาย พัฒนาสถาบัน CIAT, CIMMYT, CIP, ICARDA, ICRISAT, IITA, IRRI, WARDA ILRI WFC CIFOR WAFC IPGRI IFPRI ISNAR ธัญพืช ถั่วกินเมล็ด ถั่วและหญ้าอาหารสัตว์ พืชหัว กล้วย plantain (รวม 27 ชนิด)

  10. ประเภทงาน • ปรับปรุงพันธุ์และงานเขตกรรม • การจัดการธาตุอาหาร • การจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน • ความหลากหลายชีวภาพทางเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ • ธุรกิจชุมชนด้านเกษตร • การจัดการทรัพยากรธรรมชาติแบบบูรณาการ • ภูมิปัญญาท้องถิ่น • กฏหมายเกษตรและสิทธิบัตร • งานวิจัยเศรษฐกิจสังคมและนโยบาย • การประเมินผลกระทบ • นโยบายทางเลือกเพื่อลดปัญหาการขาดแคลนอาหารและความยากจน

  11. งานวิจัยเชิงบูรณาการระหว่างศูนย์งานวิจัยเชิงบูรณาการระหว่างศูนย์ Alternatives to Slash and Burn (ASB) Consortium for Spatial Information (CSI) ! Integrated Natural Resources Management International Crop Information System Participatory Research and Gender Analysis (PRGA) Strategic Initiative on Urban and Peri Urban Agriculture Systemwide Initiative on Water Management (SWIM) Systemwide Genetic Resources Programme (SGRP) Systemwide Information Network for Genetic Resources (SINGER) Systemwide Livestock Programme (SLP) Systemwide Program on Integrated Pest Management

  12. การเปลี่ยนแปลงใน 3 ทศวรรษ • เพิ่มผลผลิตพืชอาหาร (Forrest Hill) • ขยายงานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเกษตรให้ครอบคลุมด้านนิเวศน์ • เศรษฐกิจและสังคม • เช่น :งานวิจัยด้านปศุสัตว์ งานวิจัยระบบฟาร์ม งานอนุรักษ์ทรัพยากร • พันธุกรรม งานจัดการน้ำ งานวิจัยเชิงนโยบาย ขยายศูนย์จาก • 4 ศูนย์เป็น 13 ศูนย์ • ยกระดับความยั่งยืนโดยการอนุรักษ์และจัดการทรัพยากรอย่างถูกวิธี • เพิ่มผลิตภาพของระบบการผลิตพืชหรือสัตว์ • ปรับปรุงนโยบาย • เพิ่มขีดความสามารถด้านการวิจัยของประเทศสมาชิก 1971-1980 1981-1990

  13. A global network of research laboratories using geographic information science and technology for land use management, sustainable agriculture and poverty alleviation The CGIAR Consortium for Spatial Information (CSI)

  14. Impact of the CGIAR • Better Food and Farming in the Tropics, by CIAT • Research for Sustainable Forests, by CIFOR • Better Wheat and Maize for a Hungry Planet, by CIMMYT • Breeding Better Potatoes, Tubers, and Roots, by CIP • Improved Food and Farming in Dry Areas, by ICARDA • Living in Harmony with the Oceans, by ICLARM • Breakthroughs in Agroforestry, by ICRAF • Improved Knowledge of Fragile Ecosystems, by ICRISAT • Knowledge as a Tool for Policymakers, by IFPRI • Sustainable Management of Water, by IIMI • Contributing to Global Food Security, IITA • Healthier, more Productive Animals, by ILRI • Safeguarding Genetic Resources, by IPGRI • Rice Revolution and Beyond, by IRRI • Building Research Capacity and Impacts, by ISNAR • Closing the Import Gap, by WARDA

  15. ผลงานวิจัยของศูนย์วิจัยนานาชาติที่มีประโยชน์ต่อคณะเกษตรศาสตร์ผลงานวิจัยของศูนย์วิจัยนานาชาติที่มีประโยชน์ต่อคณะเกษตรศาสตร์ CIAT Participatory Research Approach Agro-enterprise, IPM Communities and Watersheds CIFOR Biodiversity, Watershed function CIMMYT Natural Resources Management Trade-off analysis, INRM in mountain agro-ecosystems Integrated Soil Management CIP

  16. ผลงานวิจัยของศูนย์วิจัยนานาชาติที่มีประโยชน์ต่อคณะเกษตรศาสตร์ผลงานวิจัยของศูนย์วิจัยนานาชาติที่มีประโยชน์ต่อคณะเกษตรศาสตร์ WAFC Alternative to Slash and Burn Initiative Millennium Ecosystem Assessment ICRISAT WEHAB IFPRI Analytical tools in policy research 13 research Themes IPGRI IRRI IRRI Rice biodiversity and Biotechnology Irrigation performance assessment IMMI

  17. ศูนย์วิจัยที่ไม่อยู่ในเครือข่ายCGIARศูนย์วิจัยที่ไม่อยู่ในเครือข่ายCGIAR • Asian Vegetable Research and Development • Center ( AVRDC) • International Institute for Development and • Environment (IIED) • International Consortium for Agricultural Systems • Applications (ICASA)

  18. ประโยชน์ที่ได้รับจากศูนย์วิจัยนานาชาติประโยชน์ที่ได้รับจากศูนย์วิจัยนานาชาติ • แนวคิดและทิศทางใหม่ • วิธีการวิจัยและเครื่องมือวิเคราะห์ที่ทันสมัย • เครือข่ายทางวิชาการและการพัฒนาบุคลากร • ตัวอย่าง:- ความยั่งยืนของระบบเกษตร • - การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ • - น้ำเพื่อการเกษตร • - ICT และ GIS เพื่อการเกษตร • - แบบจำลองพืชและระบบสนับสนุนการตัดสินใจ • - Genomics • - ความหลากหลายทางชีวภาพเพื่อการเกษตร • - สิทธิบัตรทางปัญญา • - แนวทางการวิจัยและเครื่องมือวิเคราะห์นโยบาย • - การประเมินผลกระทบ • - แนวทางการวิจัยแบบมีส่วนร่วม !

  19. วาระวิจัยของคณะเกษตรศาสตร์ที่มีความได้เปรียบวาระวิจัยของคณะเกษตรศาสตร์ที่มีความได้เปรียบ • เกษตรที่สูง • ประเด็นปัญหาในภูมินิเวศน์ภาคเหนือตอนบนสอดรับกับยุทธศาสตร์ชาติ • อยู่ในกรอบงานวิจัยของศูนย์วิจัยนานาชาติ : • ความมั่นคงทางอาหาร, การจัดการทรัพยากรเกษตรอย่างยั่งยืน, • การจัดการความหลากหลายชีวภาพทางเกษตร, • ความยากจน, ชุมชนที่เข้าไม่ถึงหน่วยบริการของรัฐ, • การเสื่อมโทรมของสภาพแวดล้อม, เอดส์กับการพัฒนาเกษตร ฯลฯ

  20. การจัดการวิจัยของคณะเกษตรศาสตร์ ม.ช. งานวิจัยในสถานีและห้องปฏิบัติการ งานวิจัยในพื้นที่เกษตรกร งานวิจัยระดับลุ่มน้ำ หน่วยวิจัยข้ามภาควิชา หน่วยวิจัยข้ามคณะ การวิจัยประเด็นที่สอดรับกับการเปลี่ยนแปลง การวิจัยประเด็นที่สนองต่อยุทธศาสตร์ชาติ ประเภทของผลงานวิจัยหลากหลาย ผู้ใช้ผลงานหลากหลาย !

  21. “Solutions are almost never permanent, so plan to keep on planning” Lester Brown, Worldwatch Institute State of the World 2000

More Related