360 likes | 904 Views
Pesticides. เอกสาร “สารกำจัดศัตรูพืชและสัตว์”. Pesticides. Pesticides = pest (เพ็ซท) n. + -icide(อิซายด์). 1. สัตว์ที่รบกวน หรือทำลาย เช่นตัวแมลง 2. โรคร้าย 3. มนุษย์ที่ทำลายความสุขของผู้อื่น.
E N D
Pesticides เอกสาร “สารกำจัดศัตรูพืชและสัตว์”
Pesticides Pesticides = pest (เพ็ซท) n. + -icide(อิซายด์) 1. สัตว์ที่รบกวน หรือทำลาย เช่นตัวแมลง 2. โรคร้าย 3. มนุษย์ที่ทำลายความสุขของผู้อื่น หมายถึง สารเคมีที่มนุษย์นำมาใช้กำจัด ทำลาย ควบคุม และป้องกันสิ่งมีชีวิตที่เป็นศัตรูและมารบกวนความเป็นอยู่ของมนุษย์, สัตว์เลี้ยง และพืช “สารกำจัดศัตรูพืชและสัตว์”
“สารกำจัดศัตรูพืชและสัตว์”“สารกำจัดศัตรูพืชและสัตว์” ชนิดของ pesticides แบ่งตามการออกฤทธิ์ 1. สารฆ่าแมลง (Insecticides) เช่น DDTorganophosphate pyrethrins Landrin 2. สารฆ่าสัตว์ฟันแทะ (Rodenticides) เช่น Warfarin สารหนู 3. สารกำจัดวัชพืช (Herbicides) เช่น paraquart 2,4-D 4. สารฆ่าเชื้อรา (Fungicides) เช่น Dicloran Captan 5. กลุ่มเบ็ดเตล็ด
ชนิดของสารฆ่าแมลง (Insecticides) 1. สารฆ่าแมลงชนิดอนินทรีย์สาร (Inorganic insecticides) ปรอท ตะกั่ว สารหนู บิสมัส พลวง ฟลูออรีน ฟอสฟอรัส 2. สารฆ่าแมลงชนิดอินทรีย์สังเคราะห์ (Synthetic organic insecticides) -พวกไฮโดรคาร์บอนที่มีคลอรีนเป็นส่วนประกอบในโมเลกุล (chlorinated hydrocarbons) เช่น DDT -พวกฟอสเฟตอินทรีย์ (organophosphates) เช่น phodphoryl chloride cyanophosphate, Parathion, Folidol -พวกคาร์บาเมต (carbamates) เช่น Aldicarb Aminocarb Carbofuran 3. สารฆ่าแมลงชนิดอินทรีย์จากพืช (Organic insecticides from plants) เช่น ไพรีธัม หางไหล ตะไคร้หอม สะเดาอินเดีย ยาสูบ
ธาตุหลัก สารฆ่าแมลง สูตรเคมี พิษต่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ปรอท เมอร์คิวริกคลอไรด์ HgCl2 ทำลายเซลล์ไต,ประสาท และอวัยวะทั่วไป สารหนู อาร์เซนิคไตรออกไซด์ As2O3 ระคายเคือง ทำลายเซลล์ของอวัยวะภายในผิวหนังอักเสบ มะเร็งปอด อาร์เซนิคเปนตอกไซด์ As2O5 พลวง แอนติโมนี โปตัสเซียมตาร์เตรท C4H4KO7Sb ทำลายเซลล์ พิษคล้ายสารหนู พิษโดยเฉพาะต่ออวัยวะภายใน ตะกั่ว ตะกั่วอาร์เซเนต PbHAsO4 พิษผสมเกิดจากทั้งตะกั่วและสารหนู ทำลายเซลล์ตับ หัวใจ ไต และสมอง บิสมัธ บิสมัธสับคาร์บอเนต (BiO)2CO3 ระคายเคือง เกิดการอักเสบของเนื้อเยื่อบุผิว ฟลูออรีน โซเดียมฟลูออไรด์ เกิดภาวะฟลูออโรซิส ฟันเป็นจุดขาว ทำให้เซลล์ตายและหลุดออก NaF ฟอสฟอรัส ฟอสฟอรัสขาว P4 ทำลายเซลล์ตับ หัวใจ ไต
Organochlorines Pyrethroids Enzymes Axonal membranes Ions (Na+, K+, Ca++, Cl-) Enzymes Neurotransmitters Organophosphorus Carbamate esters แสดงตำแหน่งออกฤทธิ์ที่ระบบเส้นประสาทของ สารฆ่าแมลงกลุ่มสารอินทรีย์
ไฮโดรคาร์บอนที่มีคลอรีนเป็นส่วนประกอบในโมเลกุลไฮโดรคาร์บอนที่มีคลอรีนเป็นส่วนประกอบในโมเลกุล (chlorinated hydrocarbons)เช่น DDT DDT : dichloro-diphenyl trichloroethane เริ่มใช้ ปี 2482 R = Cl , R1 = H , R2 = CCl3 R = OCH3 , R1 = H , R2 = CCl3 => Methoxychlo • รวมตัวกับฟอสโฟลิปิดในเยื่อหุ้มเซลล์ • โดยเฉพาะเซลล์ของระบบประสาทหรือแอกซอน • ยับยั้งเอนไซม์อะดีโนซีนไตรฟอสฟาเตส (ATPase)
ดีดีทีเป็นสารฆ่าแมลงประเภทแบบถูกตัว คือ มันซึมซาบผ่านผิว • ชั้นนอกไคติน(chitin) เข้าไปยังระบบประสาทของแมลงได้ดี • แต่ซึมผ่านผิวหนังของคนได้น้อยกว่าผิวของตัวแมลง • DDT มีพิษเฉียบพลัน เกิดปฏิกิริยากับระบบประสาทส่วนกลางของคนและสัตว์ ทำลายระบบควบคุมการหายใจ ทำให้เซลล์ขาดออกซิเจน => ตาย • ดีดีที 30 กรัมต่อน้ำหนักร่างกาย 70 กิโลกรัม • สามารถทำให้คนนั้นตายได้ • อันตรายของ DDT คือ มีการสะสมตกค้างในสิ่งแวดล้อม
ฟอสเฟตอินทรีย์ (organophosphates) เช่น phodphoryl chloride, cyanophosphate, Parathion, Folidol X = quaternary nitrogen, -F, -CN, -OCN, -SCN, -Br -Cl และ alkyl group X เป็น Quaternary amine ฟอสโฟรีลโคลีน (phosphorylcholines) กลุ่มนี้เป็นกลุ่มเล็กที่สุด แต่มีพิษรุนแรงมาก X คืออะตอมของฟลูออรีน ฟลูออโรฟอสเฟต (fluorophosphates) เป็นกลุ่มใหญ่แต่นำมาใช้น้อย เป็นก๊าซพิษระเหยได้ง่าย สารพิษที่รู้จักกันดีคือ diisopropyl fluorophosphate (DFP) หรือ “ก๊าซทำลายระบบประสาท” ที่นำมาใช้ ได้แก่ ไดเมฟอกซ์ (dimefox) และไมพาฟอกซ์ (mipafox)
Organophosphate X = quaternary nitrogen, -F, -CN, -OCN, -SCN, -Br -Cl และ alkyl group X ถูกแทนที่ด้วย CN, OCN, SCN, Cl, Br และ I นำมาใช้เป็นสารฆ่าแมลงและปราบศัตรูพืชมาก X จะเป็นอะไรก็ได้ที่แตกต่างจากสามกลุ่มแรกสารกลุ่มนี้เป็นสารพิษใช้ฆ่าแมลง ยาถ่ายพยาธิและศัตรูพืชอื่น ๆ มากมาย บางอย่างเป็นพิษต่อเชื้อราและพืชมีดอกด้วย บางชนิดเช่น ไตรออร์ธาเครซีลฟอสเฟต (TOCP) ไม่มีฤทธิ์ในการฆ่าแมลงเลย
ENZYME ENZYME Acetylcholine esterase Acetylcholine esterase esteratic site anionic site esteratic site anionic site _ _ O O H C H C H C C H - O H H C H C H + + 3 3 3 2 5 2 3 2 3 N N C P C C C H C H C H - O O S C C O 3 3 2 5 H H 2 2 Organophosphate Acetylcholine “ anticholinesterase ”
พวกคาร์บาเมต (carbamates) เช่น Aldicarb Aminocarb Carbofuran “ anticholinesterase ” เช่น Serin Carbatyl Baygon Furradan Lannate สารฆ่าแมลงจะไม่มีอะตอมของกำมะถัน กำมะถันแทนที่ออกซิเจนในกรณีที่เป็นสารฆ่าหญ้าและ เชื้อรา
สารฆ่าแมลงชนิดอินทรีย์จากพืช (Organic insecticides from plants) เช่น ไพรีธัม หางไหล ตะไคร้หอม สะเดาอินเดีย ยาสูบ ไพเรธริน (pyrethrins) ละลายในปิโตรเลียมอีเธอร์ อะซีโตน คลอโรฟอร์ม อัลกอฮอล์ และน้ำมันก๊าด ออกฤทธิ์แบบ knock down action รวมตัวกับชั้นไขมันคู่ (lipid bilayer) ของเยื่อหุ้มเซลล์ ทำให้ ATPase หยุดทำงาน
สารฆ่าสัตว์ฟันแทะ(rodenticides)สารฆ่าสัตว์ฟันแทะ(rodenticides) 1. สารฟลูออโรอินทรีย์ (Organic fluorine compounds) ยังยั้งการทำงานของเอนไซม์อะโคนิเตส(aconitase)ในวัฏจักร์เครบส์(Krebs cycle) => ไม่มีการสร้างพลังงาน และ การครั่งของ citrate
cis-Acronitase Citrate - Isocitrate CO + 2 Acetyl CoA ฟลูออโรอะซีเตท NADH a -ketoglutarate Oxaloacetate TCA CYCLE CO + NADH 2 NADH Succinyl CoA Fumarate GTP Succinate H O Malate 2 FADH + H+
2. อนุพันธ์ของยูเรีย (Substituted Ureas) ยับยั้งเอนไซม์ในไมโครโซมของตับ ทำลายเซลล์เบต้าของตับอ่อน ทำให้รบกวนเมตะลิสม์ของน้ำตาลกลูโคส ระบบสมองและประสาทจะถูกรบกวนและทำลาย
O OH CH2-C-CH3 OH OH O O O O O O O O 3. สารต่อต้านไวตามินเค (Antivitamin K compounds) Coumarin Dicoumarol Warfarin ทำให้เลือดไม่หยุดไหลเวลามีบาดแผล 4. กลุ่มเบ็ดเตล็ด ไม่มีความสัมพันธ์กันในด้านกลไกความเป็นพิษ ได้แก่ อัลฟาคลอราโลส (a-chloralose) และ นอร์บอร์มีด (norbormide)
สารฆ่าหญ้า (herbicide) 1. คลอโรฟีนอกซี (Chlorophenoxy compound) ทำให้กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง อัมพาต และหมดความรู้สึก กล้ามเนื้อหัวใจกระตุกถี่มากจนตาย ไม่เป็นสารก่อการกลายพันธุ์ แต่อาจเสริมการเกิดมะเร็ง
2. สารประกอบไนโตรเจนชนิดจตุภูมิ (Quarternary nitrogen compounds) กรีนโซน คาราโซน แซปเปร์ ไบโอโซน ฟิวโก้ สตาร์โซน กรัมม๊อกโซน คาบีโซน ดาราโซน ปาโคโซน เมโทรโซน อาคาโซน แกรมม่าโซน คิงโซนทอปโซน พาราคว๊อต ม๊อกตาโซน อีโคพาเรด คอนโซน จักรวาลโซน ไทนาโซน พีราโซน ยูคาร์โซน อี-โซน คอนโดโซน ซีโซน น๊อกโซน แพลนโซน ยูนิโซน เอ-โซน คอมโบโซน ซุปเปอร์โซน น๊อกโซน-เอ็ม ฟาร์เมอร์โซน รูต้า เอ.บี.โซน
- - Toxic of paraquat => Hit and Run Reduced Paraquat NADP+ O2 Superoxide Dismutase NADH, H+ Oxidized Paraquat H2O2 O2- Catalase Superoxide Radical H2O , O2 Singlet Oxygen Other free radicals Lipid peroxidation การสังเคราะห์แสงของพืช การผ่านเข้าออกของอิออน เยื่อหุ้มเซลล์ถูกทำลาย เซลล์ตาย
สารฆ่าเชื้อรา(fungicides) 1. สารฆ่าเชื้อราชนิดอนินทรีย์และโลหะอินทรีย์ สารประกอบของโครเมียม ทองแดง สังกะสี แคดเมียมและปรอท เช่น โซเดียมโครเมต, ทองแดงซัลเฟต, สังกะสีคลอไรด์, แคดเมียมคลอไรด์, ปรอทคลอไรด์และปรอทอัลคีล 2. สารฆ่าเชื้อราชนิดอินทรีย์ Thiocarbamate esters สารประกอบกำมะถันและไนโตรเจน ได้แก่ แคปแทน (Captan), แคปทาฟอล (Captafol) และฟอลเพท (Folpet)
2. สารฆ่าเชื้อราชนิดอินทรีย์ สารฟีนอลและเอสเธอร์ของมัน ยับยั้งการเกิดขบวนการออกซิเดทีฟฟอสฟอริลเลชัน(oxidative phosphorylation) ในไมโตคอนเดรีย ไดไนโตรฟีนอล(dinitrophenols; DNP) เพนตะคลอโรฟีนอล (pentachlorophenol) ไตรโคลโคฟีนอล(trichlorophenol) โคลโรเนบ(chloroneb) ไดคลอร์เฟน (dichlorphen) อีทอกซีควิน(etoxyquin) โอเฟนนิลฟีนอล(o-phenylphenol) และ 8-ควินนินอล (8-quininol)
การตรวจวัดเอนไซม์ Total Cholinesterase
Total Cholinesterase • Pseudocholinesterase or butylylcholinesterase : CHS สร้างจากตับ • True cholinesterase : AcHE สร้างเม็ดเลือดแดง Acetylcholine esterase Substrate สำหรับการตรวจวัด total cholinesterase • Acetylcholine => H+ วัดการเปลี่ยนแปลง pH • Propionylthiocholine => thiocholine หรือ Acetylthiocholine หรือbutyrylthiocholine 5-thio-2-nitrobenzoate วัดการดูดกลืนแสง DTNB 5,5-dithio bis( 2-nitrobenzoic acid )
Measurement reaction of Total cholinesterase using PTC propionylthiocholine (PTC) propionic acid Cholinesterase + + thiocholine 2 dithiocholine + + 2 5-thio-2-nitrobenzoic acid DTNB max 320 nm max410 nm
Measurement reaction of Pseudocholinesterase (PCHE) using BTC and blue dye (2,6-dichlorophenolindophenol; DIP) PCHE Butyrylthiocholine + H2O Bytyric acid + Thiocholine 2 Thiocholine + 2,6-dichlorophenolindophenol Dithiocholine + DIP-H2 max 600 nm Colorless solution
Objective of the cholinesterase measurement • used to assess • liver function • monitor excessive exposure to • the anticholinesterase • organophosphorus insecticides • predict susceptibility to prolonged apnea • after administration of • the muscle relaxant succinylcholine • investigate the inheritance of variants of • the enzyme
Final concentration in the assay mixture PTCI = 2 mmol/L dibucaine 0.03 mmol/L NaF = 4 mmol/L DTNB = 0.254 mmol/L Phosphate buffer = 25 mmol/L inhibitor of CHE for investigate the inheritance of variants of the enzyme
- Toxic of organophosphate Pseudocholinesterase activity Mid 20-50 % of normal Moderate 10-20 % of normal Severe 10 % of normal ค่าปกติ : 4.8 - 12 IU/ml Quinidine sulfate PTCI + enzyme ----> thiocholine Thiocholine + DTNB ----> 5-thio-2-nitrobenzoate (unstable)
Dilute sample 1:50 หรือ 1:100 ก่อนตรวจวัด Sample Blank Sample Test DTNB buffer Quinidine reagent PTCI substrate Diluted Sample PTCI substrate Quinidine reagent 3.0 ml 1.0 ml - 1.0 ml 1.0 ml - 3.0 ml - 1.0 ml 1.0 ml - 1.0 ml อุ่นใน water bath 37oซ. นาน~5 นาที อุ่นใน water bath 37oซ. นาน 3นาทีพอดี Fixed Time kinetic(rate) Assay หรือ Two-point Kinetic assay Total volume x Abs CHS acitivity = Sample volume x 13.6 x Incubation time(min)
ทุกคนตรวจวัด Total Cholinesterase (2 คน ต่อ 1 หมายเลข) Unknown serum 1 Control serum 1 (แจกให้โต๊ะละ 1 หลอด) Sample Blank Sample Test DTNB buffer Quinidine reagent PTCI substrate Sample PTCI substrate Quinidine reagent 3.0 ml 1.0 ml - 0.02 ml 1.0 ml - 3.0 ml - 1.0 ml 0.02 ml - 1.0 ml อุ่นใน water bath 37oซ. นาน~5 นาที อุ่นใน water bath 37oซ. นาน 3นาทีพอดี ค่า ChE ของ Control serum : ...............................U/ml
Calculation ABS xT.V. S.V. x 13.6 x b xZ Total ChE activity(IU/ml) = Cal. Factor = DABS = ASample test - ASample Blank T.V. = Total volume in reaction tube ( 5.00 + 0.02 ) S.V. = Sample volume ( 0.02 ml ) 13.6 = millimolar absorptivity of 5-thio-2-nitrobenzoate b = cuvette pathlength ( 1.0 cm ) Z = 3 นาที
ABS/30 sec ABS/min ตัวอย่างข้อมูล กรณีวัดแบบ Multi-point kinetic assay Time ABS 00:00 - 00:30 0.042 01:00 0.089 01:30 0.137 02:00 0.185 02:30 0.231 03:00 0.277 03:30 0.324 0.089 - 0.042 = 0.047 0.137 - 0.089 = 0.048 0.185 - 0.137 = 0.048 0.231 - 0.185 = 0.046 0.277 - 0.231 = 0.046 0.324 - 0.277 = 0.047 0.094 0.096 0.096 0.092 0.092 0.094 ค่าเฉลี่ย = 0.094