1.03k likes | 3.4k Views
ฉลากโภชนาการ. วริสา สุดสงวน. ฉลากโภชนาการ คือ. ฉลากอาหารปกติ มีข้อมูลการแสดงฉลากโดยทั่วไป และมีการแสดงข้อมูลโภชนาการของอาหารนั้นในรูปของ @ “กรอบข้อมูลโภชนาการ” ซึ่งระบุ ชนิดสารอาหาร ปริมาณสารอาหาร @ “ข้อความกล่าวอ้าง”. @ “กรอบข้อมูลโภชนาการ”. @ “ข้อความกล่าวอ้าง”. แคลเซียมสูง
E N D
ฉลากโภชนาการ วริสา สุดสงวน
ฉลากโภชนาการ คือ ฉลากอาหารปกติ มีข้อมูลการแสดงฉลากโดยทั่วไป และมีการแสดงข้อมูลโภชนาการของอาหารนั้นในรูปของ @“กรอบข้อมูลโภชนาการ” ซึ่งระบุ • ชนิดสารอาหาร • ปริมาณสารอาหาร @ “ข้อความกล่าวอ้าง”
@“กรอบข้อมูลโภชนาการ”@“กรอบข้อมูลโภชนาการ”
@“ข้อความกล่าวอ้าง” • แคลเซียมสูง • เสริมไอโอดีน • ใยอาหารสูง • โซเดียมต่ำ • ไม่มีโคเลสเตอรอล
ทำไมต้องมีฉลากโภชนาการทำไมต้องมีฉลากโภชนาการ • โรคที่เกี่ยวข้องกับภาวะโภชนาการของคนไทย @ ขาด เช่น ขาดไอโอดีน โรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก @ เกิน เช่น โรคอ้วน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โคเลสเตอรอลสูง • การเลือกบริโภคให้ถูกต้องเหมาะสมจึงเป็นสิ่งสำคัญในการดูแลสุขภาพ
ความสำคัญของโภชนาการต่อสุขภาพความสำคัญของโภชนาการต่อสุขภาพ โรคที่เกิดจากวิถีชีวิต (Life style diseases) • ปัจจัยเหตุของการเกิดโรค • อ้วน • ความดันโลหิตสูง • น้ำตาลในเลือดสูง • ไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจและ หลอดเลือด โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน การบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม พิการ เสียชีวิต
ประโยชน์ฉลากโภชนาการ 1. เลือกซื้ออาหารและเลือกบริโภคให้เหมาะสมกับความต้องการ หรือภาวะทางโภชนาการของตนได้เช่น เลือกอาหารที่ระบุว่ามีโคเลสเตอรอลต่ำหรือ มีโซเดียมต่ำ 2. เปรียบเทียบเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหารชนิดเดียวกัน โดยเลือกที่มีคุณค่าทางโภชนาการดีกว่าได้ 3. ในอนาคต เมื่อผู้บริโภคสนใจ ต้องการข้อมูลโภชนาการของอาหาร ผู้ผลิตก็จะแข่งขันกันผลิตอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูงกว่า แทนการแข่งขันกันในเรื่องหีบห่อ สีหรือสิ่งจูงใจภายนอกอื่นๆ
การเลือกกินให้ถูกต้องการเลือกกินให้ถูกต้อง • ช่วยเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรง • ลดโอกาสการเกิดโรคภัยไข้เจ็บ • ข้อปฏิบัติการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทย (โภชนบัญญัติ 9 ประการ)
โภชนบัญญัติ 9 ประการ • กินอาหารครบ 5 หมู่ แต่ละหมู่ให้หลากหลาย และหมั่นดูแลน้ำหนักตัว • กินข้าวเป็นอาหารหลัก สลับกับอาหารประเภทแป้งเป็นบางมื้อ • กินพืชผักให้มากและกินผลไม้เป็นประจำ • กินปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่ และถั่วเมล็ดแห้งเป็นประจำ • ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย • กินอาหารที่มีไขมันแต่พอควร • หลีกเลี่ยงการกินอาหารรสหวานจัดและเค็มจัด • กินอาหารที่ปราศจากการปนเปื้อน • งดหรือลด เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
หัวใจของการแสดงฉลากโภชนาการหัวใจของการแสดงฉลากโภชนาการ • การกล่าวอ้างต้องเป็นความจริง • ข้อมูลนั้นให้ความรู้ทางโภชนาการที่ถูกต้องแก่ผู้บริโภค • ไม่ทำให้เข้าใจผิด • การกล่าวอ้างจะต้องไม่เป็นเครื่องมือที่ก่อให้เกิดความได้เปรียบทางการค้าอย่างไม่ยุติธรรม • การกล่าวอ้างของอาหารต้องมีข้อมูลทางโภชนาการของอาหารนั้นประกอบอยู่ด้วย
อาหารทุกชนิดต้องแสดงฉลากโภชนาการหรือไม่อาหารทุกชนิดต้องแสดงฉลากโภชนาการหรือไม่ • ไม่ • ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ 182 พ.ศ. 2541 • “ฉลากโภชนาการ เป็นการแสดงโดยสมัครใจสำหรับอาหารทุกชนิด • แต่ จะบังคับให้อาหารที่มีการกล่าวอ้าง ต้องแสดงฉลากโภชนาการโดยบังคับ
ข้อมูลที่แสดงบนฉลาก • ข้อมูลที่บังคับ • ปริมาณพลังงานทั้งหมดและปริมาณที่ได้จากไขมัน • คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน ซึ่งเป็นสารอาหารที่ให้พลังงาน • วิตามิน เกลือแร่ (วิตามินเอ วิตามินบี 1 วิตามินบี 2 แคลเซียม เหล็ก) • สารอาหารที่ต้องระวังไม่ให้กินมากเกินไป (โคเลสเตอรอล โซเดียม ไขมันอิ่มตัว น้ำตาล) • สารอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อระบบทางเดินอาหาร (ใยอาหาร)
ข้อมูลที่แสดงบนฉลาก 2. ข้อมูลที่ไม่บังคับ - วิตามินเกลือแร่อื่นๆ ระบุต่อท้าย เรียงจากมากไปหาน้อย
รูปแบบมาตรฐานของฉลากโภชนาการรูปแบบมาตรฐานของฉลากโภชนาการ
กรอบข้อมูลโภชนาการแบบเต็มสำหรับฉลากที่มีพื้นที่น้อยกว่า 80 ตารางเซนติเมตร
กรอบข้อมูลโภชนาการแบบย่อสำหรับฉลากที่มีพื้นที่น้อยกว่า 80 ตารางเซนติเมตร
กรอบข้อมูลโภชนาการแบบควบคู่กรอบข้อมูลโภชนาการแบบควบคู่ ใช้เมื่อผลิตภัณฑ์นั้นอาจต้องผสมกับส่วนประกอบอื่น หรือต้องนำไปผ่านกรรมวิธีตามที่ระบุไว้บนฉลาก เช่น แป้งเค้กผสม และเค้ก ตามลำดับ
รายละเอียดข้อมูลภายในกรอบรายละเอียดข้อมูลภายในกรอบ • หนึ่งหน่วยบริโภค ปริมาณอาหารที่คนไทยปกติทั่วไปรับประทานได้หมดใน 1 ครั้ง ปริมาณอาหารที่ผู้ผลิตแนะนำให้ผู้บริโภครับประทานผลิตภัณฑ์นั้นๆในแต่ละครั้ง หรือเรียกว่า “กินครั้งละ”
รายละเอียดข้อมูลภายในกรอบรายละเอียดข้อมูลภายในกรอบ 2. จำนวนหน่วยบริโภคต่อภาชนบรรจุ จำนวนครั้งของการบริโภคอาหารนั้นที่มีอยู่ในหนึ่งหน่วยบรรจุ
รายละเอียดข้อมูลภายในกรอบรายละเอียดข้อมูลภายในกรอบ 3. คุณค่าทางโภชนาการต่อหนึ่งหน่วยบริโภค - พลังงานทั้งหมด - ไขมันทั้งหมด - ไขมันอิ่มตัว - โคเลสเตอรอล - โปรตีน
รายละเอียดข้อมูลภายในกรอบรายละเอียดข้อมูลภายในกรอบ 3. คุณค่าทางโภชนาการต่อหนึ่งหน่วยบริโภค - คาร์โบไฮเดรต - ใยอาหาร - น้ำตาล - โซเดียม - วิตามินต่างๆ เช่น วิตามินเอ วิตามินบี 1 วิตามินบี 2 แคลเซียม เหล็ก
GDA Guideline Daily Amounts
อาหารส่งเสริมสุขภาพ • เมนู 211 • Healthy Meeting • กินตามธงโภชนาการ • อาหารโซนสี
หลักในการเลือกอาหารว่างสุขภาพหลักในการเลือกอาหารว่างสุขภาพ • คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ • ให้พลังงานไม่เกินร้อยละ 10 ของพลังงานที่ต้องการใน 1 วันผู้ใหญ่ควรได้รับพลังงานจากอาหารว่าง ประมาณ 150 – 200 กิโลแคลอรี่ • อาหารว่างที่ดีควรจำกัดปริมาณน้ำมัน น้ำตาลและเกลือ ไม่ให้สูงเกินไป
หลักในการเลือกอาหารว่างสุขภาพหลักในการเลือกอาหารว่างสุขภาพ • ผลไม้สด เป็นอาหารว่างที่มีประโยชน์ มีแร่ธาตุและใยอาหาร และวิตามินสูง ผลไม้ที่เหมาะสมสำหรับเป็นอาหารว่าง ได้แก่ ส้ม มะละกอ ฝรั่ง ชมพู่ เป็นต้น • หลีกเลี่ยงการใช้ผลไม้ที่มีรสหวาน
หลักในการเลือกอาหารว่างสุขภาพหลักในการเลือกอาหารว่างสุขภาพ • เครื่องดื่มที่เหมาะสม ไม่ควรมีน้ำตาลเกินร้อยละ 5 • การเลือกเครื่องดื่มประเภทน้ำผลไม้ ควรเลือกเครื่องดื่มน้ำผลไม้สดชนิดที่ไม่เติมน้ำตาล
หลักในการเลือกอาหารว่างสุขภาพหลักในการเลือกอาหารว่างสุขภาพ • ของว่างจำพวกเบเกอรี่ ควรเลือกขนมปัง ชนิดที่ทำมาจากโฮลวีท หลีกเลี่ยงขนมที่มีไขมันสูงและ รสหวานจัด ตัวอย่างเช่น คุกกี้ พัฟ พาย เค้กหน้าครีม • สามารถเลือกพืชหัวและธัญพืชเป็นอาหารว่างได้ เช่น ข้าวโพดต้ม มันต้ม ฟักทองต้ม เป็นต้น
หลักในการเลือกอาหารว่างสุขภาพหลักในการเลือกอาหารว่างสุขภาพ • ขนมหวานของไทย ขนมไทยหลายอย่างมีประโยชน์เนื่องจากมักนำธัญพืช ถั่ว ผัก ผลไม้มาเป็นส่วนประกอบ การบริโภคให้เลือกชนิดที่มีน้ำมันน้อย หรือกะทิ / มะพร้าวน้อย และไม่หวานจัด • ของว่างอื่นๆ ที่เหมาะสม มีอาหารหลายหมวดอยู่ปนกัน เช่น ขนมจีบซาลาเปา แซนวิชไส้ทูน่า เป็นต้น
หลักในการเลือกอาหารว่างสุขภาพหลักในการเลือกอาหารว่างสุขภาพ 10. การจัดอาหารว่างเพื่อสุขภาพควรจัดให้หลากหลายชนิด ในปริมาณที่พอเหมาะสำหรับการบริโภคใน 1 มื้อ อาหารว่างบางชนิดให้พลังงานสูงควรรับประทานคู่กับเครื่องดื่มที่มีพลังงานต่ำ หรือน้ำเปล่า น้ำชาไม่ใส่น้ำตาล