170 likes | 322 Views
การมีส่วนร่วมของภาคเอกชน ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ภายใต้แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2555-2559. นายเชวง จาว รองประธานคณะกรรมการบริหารสถาบันสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม สภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 3 กันยายน 2556. วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ ส.อ.ท.
E N D
การมีส่วนร่วมของภาคเอกชนการมีส่วนร่วมของภาคเอกชน ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ภายใต้แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2555-2559 นายเชวง จาว รองประธานคณะกรรมการบริหารสถาบันสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 3 กันยายน 2556
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ ส.อ.ท. • การดำเนินงานที่สอดคล้องกับแผนฯ • ข้อเสนอแนะ ประเด็นนำเสนอ
“เสริมสร้างการพัฒนาศักยภาพภาคอุตสาหกรรม และSMEsทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคอย่างบูรณาการ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันในระดับสากล เตรียมความพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง และพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยคำนึงถึงปัจจัยเอื้อ ความสามารถในการแข่งขัน สิ่งแวดล้อม และความรับผิดชอบต่อสังคม” วิสัยทัศน์ ส.อ.ท.
พันธกิจ 1 : ส่งเสริมภาคการผลิตให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยการเชื่อมโยงระหว่างภาคเกษตร อุตสาหกรรม การบริการ และการศึกษา เพื่อนำไปสู่การสร้างมูลค่าเพิ่ม ผ่านการเชื่อมโยงในรูปห่วงโซ่การผลิต และการรวมตัวในลักษณะของคลัสเตอร์ พันธกิจ 2 : เสริมสร้างศักยภาพให้ทุกกลุ่มอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมจังหวัด อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง และสามารถแข่งขันได้ในระดับภูมิภาคและระดับสากล พันธกิจ 3 : รณรงค์และสนับสนุนให้ภาคอุตสาหกรรมดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อการอยู่ร่วมกับชุมชนอย่างยั่งยืน โดยคำนึงถึงสุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เกิดการพัฒนาไปสู่เมืองอุตสาหกรรมนิเวศน์ (Eco-Industrial Town) พันธกิจ 4 : เป็นตัวแทนภาคเอกชน สะท้อนปัญหา ข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็น เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศในด้านต่างๆ ต่อภาครัฐอย่างเป็นอิสระ ทำงานประสานความร่วมมือกับรัฐบาล องค์กรต่างๆ โดยปลอดจากการเมือง พันธกิจ 5 : เสริมสร้างให้เกิดการทำงานร่วมกันอย่างเป็นระบบทั้งในระดับสมาชิก ส.อ.ท. กรรมการและผู้ปฏิบัติงาน เพื่อพัฒนาองค์กรให้มีความเข้มแข็งและเป็นเสาหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ พันธกิจหลักของ ส.อ.ท.
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การสร้างคุณค่าเพิ่มในกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์สินค้าด้วย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมอย่างครบวงจร ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การส่งเสริมอุตสาหกรรมให้อยู่ร่วมกับชุมชนและสังคมได้อย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การพัฒนาการดำเนินธุรกิจอุตสาหกรรมในรูปแบบเครือข่ายกลุ่ม อุตสาหกรรม (คลัสเตอร์) และ ห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ยุทธศาสตร์ที่ 4 : มาตรการเชิงรุกและรับสำหรับการเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) และกรอบข้อตกลงเสรีทางการค้า (FTA) ยุทธศาสตร์ที่ 5 : การสนับสนุนปัจจัยเอื้อต่อการประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมและบูรณา การหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ยุทธศาสตร์ที่ 6 : การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์พร้อมสู่ความยั่งยืนของธุรกิจ อุตสาหกรรม ยุทธศาสตร์ ส.อ.ท.
อุตสาหกรรมยังคงจำเป็นสำหรับการพัฒนาเศรษฐกิจประเทศ • การพัฒนาอุตสาหกรรมต้องให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย และคุณภาพชีวิตที่ดี ของชุมชนและสังคม ควบคู่ไปกับการเพิ่มมูลค่าทาง เศรษฐกิจ อย่างมีดุลยภาพ • สามารถลดและควบคุมมลภาวะได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีฉุกเฉิน • เน้นการอนุรักษ์การใช้ทรัพยากรธรรมชาติและพลังงาน ทั้งในกระบวนการผลิตและระบบโลจิสติกส์อย่างบูรณาการ • เป็นประโยชน์ทางเศรษฐกิจต่อชุมชนและประเทศชาติอย่างแท้จริง • ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพและชีวิตความเป็นอยู่ของชุมชน และต้องมีส่วนช่วยให้ชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น นโยบาย ส.อ.ท. ต่อการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม
สถาบันน้ำเพื่อความยั่งยืน สถาบันน้ำเพื่อความยั่งยืน สถาบันการจัดการบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม สถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม สถาบันสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม หน่วยงานรับผิดชอบด้านทรัพยากร สิ่งแวดล้อม และพลังงาน
การดำเนินงานที่สอดคล้องกับแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมฯการดำเนินงานที่สอดคล้องกับแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมฯ
การดำเนินงานที่สอดคล้องกับแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมฯการดำเนินงานที่สอดคล้องกับแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมฯ
การดำเนินงานที่สอดคล้องกับแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมฯการดำเนินงานที่สอดคล้องกับแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมฯ
การดำเนินงานที่สอดคล้องกับแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมฯการดำเนินงานที่สอดคล้องกับแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมฯ
การดำเนินงานที่สอดคล้องกับแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมฯการดำเนินงานที่สอดคล้องกับแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมฯ
การดำเนินงานที่สอดคล้องกับแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมฯการดำเนินงานที่สอดคล้องกับแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมฯ
ภาคอุตสาหกรรมมีแนวทางการดำเนินงานที่สอดคล้องกับแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมฯ แต่มีข้อเสนอแนะเพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพและเป็นไปตามแผนฯ ดังนี้ • ภาครัฐควรสนับสนุนงบประมาณที่เหมาะสมในการดำเนินงานฯ สำหรับภาครัฐ และภาคอุตสาหกรรม เพื่อช่วยให้เกิดการปรับปรุงฯที่มีประสิทธิภาพ • เสริมสร้างบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านต่างๆ ทั้งของหน่วยงานภาครัฐ และนักวิชาการที่เพียงพอและสามารถรองรับกับความต้องการได้ • ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานด้านการวิจัยและพัฒนา (Research & Development : R&D) • ควรระบุหน่วยงานรับที่ผิดชอบหลักในการดำเนินงาน (เจ้าภาพ) ที่ชัดเจน และมีการบูรณาการการดำเนินงานไม่ให้เกิดการความซ้ำซ้อนระหว่างหน่วยงานต่างๆ • ประชาสัมพันธ์และให้ความรู้ความเข้าใจกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความเข้าใจและมีทิศทางการดำเนินงานที่ตรงกัน • ปรับปรุงกฎระเบียบข้อบังคับที่เป็นอุปสรรค ให้มีความเหมาะสม และสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง และลดความซ้ำซ้อนของกฎหมายที่ออกโดยหน่วยงานต่างกัน • การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน และลดข้อขัดแย้งต่างๆ ข้อเสนอแนะ