430 likes | 944 Views
แผนยุทธศาสตร์ แก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย (คนไทยไร้พุง) กรมอนามัย พ.ศ. 255 3 – 255 6. กองโภชนาการ - กองออกกำลังกาย. อิทธิพลสิ่งแวดล้อม/สังคม - การตลาดด้านอาหาร - กระแสตะวันตก - สื่อ - ปัจจัยเอื้อทางกายภาพ เช่น สถานที่ออกกำลังกาย, การเข้าถึงแหล่งอาหาร. สร้างนโยบายสาธารณะ
E N D
แผนยุทธศาสตร์แก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย (คนไทยไร้พุง)กรมอนามัย พ.ศ. 2553 – 2556 กองโภชนาการ - กองออกกำลังกาย
อิทธิพลสิ่งแวดล้อม/สังคม - การตลาดด้านอาหาร - กระแสตะวันตก - สื่อ - ปัจจัยเอื้อทางกายภาพ เช่น สถานที่ออกกำลังกาย, การเข้าถึงแหล่งอาหาร สร้างนโยบายสาธารณะ และสิ่งแวดล้อมที่ลด ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบ ต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ขาดการออกกำลังกาย Energy out (-) ปัจจัยด้านชีวภาพพันธุกรรม ปัจจัยด้านพฤติกรรม อ้วนลงพุง Energy in (+) ระบบบริการสาธารณสุข -การให้คำปรึกษา -การรณรงค์ PR -คลินิกลดไขมัน -ระบบเฝ้าระวังภาวะเสี่ยง -พัฒนาองค์ความรู้ -สร้างพันธมิตร ภาคีเครือข่าย ขับเคลื่อนในระดับชาติ การบริโภคอาหารไม่เหมาะสม กรอบแนวคิดการดำเนินงานลดปัจจัยเสี่ยงจากภาวะน้ำหนักเกิน 2
วิสัยทัศน์ : ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี(Healthy Life Style for People NO BELLY) เป้าประสงค์ : ประชาชนอายุตั้งแต่ 6 ปีขึ้นไปมีพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และการออกกำลังกายที่เหมาะสมตามกลุ่มวัย และอยู่ใน สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการลดโรควิถีชีวิต 3 3
ผลลัพธ์ที่ต้องการ Ultimate Goalsประชาชนทุกกลุ่มวัยมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี (Healthy Life Style for People NO BELLY) • Impact : • 1. ประชาชนชายอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวน้อยกว่า 90 ซม. ( ร้อยละ 80 ) • 2. ประชาชนหญิงอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวน้อยกว่า 80 ซม. ( ร้อยละ 43.5 ) • 3.เด็กอายุ 6 – 14 ปี มีน้ำหนักเทียบกับส่วนสูงเป็นปกติ ( ร้อยละ 85 ) • Outcome : • 1. ประชาชนอายุ 6 ปีขึ้นไปมีพฤติกรรมการบริโภคและการออกกำลังกายที่เหมาะสมตามกลุ่มวัย • 2. ประชาชนสามารถจัดการน้ำหนักของตนเอง ครอบครัว ชุมชน ด้วยหลักการ 3 อ. • Output : • 1. มีการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์แบบการมีส่วนร่วม • 2. องค์กรภาครัฐ เอกชน อปท. มีความสามารถในการบริหารจัดการสู่องค์กรต้นแบบไร้พุง • 3. กลุ่มผู้ผลิต ผู้ค้า ในชุมชน และบริษัทอุตสาหกรรม ผลิตและจำหน่ายอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้มาตรฐาน • กรมอนามัย • 4. ประชาชนเข้าถึงบริการและพึงพอใจต่อสินค้า / บริการ “คนไทยไร้พุง” 4 4
จุดหมายปลายทางการแก้ไขปัญหาโรคอ้วน กรมอนามัย ระดับประชาชน / ชุมชน (มุมมองเชิงคุณค่า) • ชุมชน/องค์กร มีแกนนำคนไทยต้นแบบไร้พุง • ประชาชนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ด้านพฤติกรรมตามหลัก3 อ. • ประชาชนประเมินและเฝ้าระวังพฤติกรรมด้านโภชนาการ ออกกำลังกาย และอารมณ์ได้ด้วยตนเอง ระดับภาคี (มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) • สถานบริการพัฒนาสู่การเป็นต้นแบบDPAC(คลินิกไร้พุง) • หน่วยงานภาครัฐ/เอกชน/รร. สามารถบริหารจัดการสู่องค์กรต้นแบบไร้พุง • ชุมชน องค์กร/ผู้ผลิต ผู้ค้า ทุกระดับทุกภาคส่วน ได้รับการถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์/องค์ความรู้ สู่การปฏิบัติ • องค์กรทุกระดับ และทุกภาคส่วน มีนโยบาย/มาตรการทางสังคม/กฎระเบียบ และนำไปใช้สู่การปฏิบัติ • ชุมชน องค์กร/กลุ่มผู้ผลิต ผู้ค้าทุกระดับ ทุกภาคส่วน มีการผลิตเทคโนโลยี นวัตกรรมคนไทยไร้พุง ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงบริหารจัดการ) มีแผนยุทธที่ศาสตร์แบบบูรณาการทั้งส่วนกลางและพื้นที่ มีระบบการบริหารจัดการและประสานงานภาคีเครือข่าย มีระบบสื่อสารสังคมที่มีประสิทธิภาพ และต่อเนื่อง มีระบบเฝ้าระวัง ระบบข้อมูลสารสนเทศ และการจัดการความรู้ที่ทันสมัย ระดับรากฐาน (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) มีวัฒนธรรมองค์กรที่ดี (HEALTH Model) บุคลากรขององค์กร มีความรู้ ทักษะและความสามารถ ระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย ถูกต้อง ครบถ้วน เข้าถึงได้
SM คนไทยไร้พุง 2553-2556 • ประชาชนสามารถประเมินและเฝ้าระวังด้านอาหารและออกกำลังกายได้ด้วยตนเอง • พัฒนาให้ประชาชนมีทักษะในการประเมินและเฝ้าระวังตนเองด้านอาหารและออกกำลังกาย • lส่งเสริมให้ประชาชนสามารถจัดการแก้ปัญหาโรคอ้วนลงพุงด้วยตนเองได้ • สร้างความตระหนักภัยร้ายของโรคอ้วนลงพุง • ชุมชนไร้พุงต้นแบบ • สร้างชุมชนไร้พุงต้นแบบ • ผลักดันให้ชุมชนพึ่งตนเองได้ • พัฒนากองทุนสุขภาพ • ชุมชน / องค์กร มีแกนนำคนไทยไร้พุง • สร้างแกนนำคนไทยไร้พุงในระดับองค์กร/ชุมชน • ส่งเสริมให้แกนนำแสดงบทบาทในการกำหนดมาตรการทางสังคมด้านอาหารและออกกำลังกาย / การจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ • สร้างเครือข่ายแกนนำคนไทยไร้พุง • ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพตามหลักการ 3 อ. • ส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพตามหลักการ 3 อ. • ส่งเสริมให้ชุมชนมีการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการลดโรควิถีชีวิต • ส่งเสริมให้ชุมชนมีแผนงาน/โครงการคนไทยไร้พุง • ส่งเสริมให้มีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านอาหารและออกกำลังกายมาใช้ในชีวิตประจำวันตามหลักการ 3 อ. • พัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านอาหารและออกกำลังกาย • ประชาชนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ด้านพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. • ส่งเสริมให้มีการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ชุมชน • สนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • สร้างช่องทางแหล่งเรียนรู้ ระดับประชาชน (Valuation) • หน่วยงานภาครัฐ / เอกชน / รร. สามารถบริหารจัดการสู่องค์กรต้นแบบไร้พุง • ส่งเสริมหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน / รร. ให้มีความสามารถบริหารจัดการสู่องค์กรต้นแบบไร้พุง • สร้างเครือข่ายไร้พุง • ส่งเสริมและพัฒนานวัตกรรมคนไทยไร้พุง • สถานบริการพัฒนาสู่การเป็นต้นแบบ DPAC • ผลักดันจัดตั้ง DPAC • สร้างเครือข่าย DPAC • บริหารความสัมพันธ์เครือข่าย (CRM) • ชุมชนองค์กร/กลุ่มผู้ผลิตผู้ค้าทุกระดับทุกภาคส่วนมีการผลิตเทคโนโลยีนวัตกรรม คนไทยไร้พุง • สร้างความร่วมมือให้กลุ่มผู้ผลิต ผู้ค้า ในชุมชนและบริษัทอุตสาหกรรม ผลิตและจำหน่ายอาหารและลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้มาตรฐาน • พัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการตลาดกลุ่มผู้ผลิต ผู้ค้าอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ • สร้างเครือข่ายการดูแลคุณภาพผลิตภัณฑ์อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ • ผลักดันให้องค์กรทุกระดับและทุกภาคส่วนได้รับการถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์/องค์ความรู้สู่การปฏิบัติ • สนับสนุนให้นำแผนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติในหน่วยงาน • ส่งเสริม สนับสนุนให้นำองค์ความรู้สู่การปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวิต • ภาคีประชาสังคม มีส่วนร่วมในการเสนอแนะเชิงวิชาการการบริหารจัดการ • ผลักดันองค์กรต่างๆสู่องค์กรไร้พุง • สร้างระบบติดตามประเมินผล • ภาคีเครือข่ายมีศักย-ภาพด้านการบริหารจัดการสู่องค์กรต้นแบบคนไทยไร้พุง • พัฒนาระบบการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย • พัฒนาระบบการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ที่ทันสมัย • องค์กรทุกระดับทุกภาคส่วนมีนโยบายสาธาษณะมาตรการทางสังคม กฎระเบียบนำไปสู่การปฏิบัติ • สนับสนุนให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • ผลักดันให้องค์กรทุกระดับและทุกภาคส่วนสร้างนโยบายสาธารณะ มาตรการทางสังคม กฎหมาย ระเบียบ • สนับสนุนให้มีเวทีประชาคมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • ติดตามประเมินการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ ระดับภาคี (Stakeholder) • กลุ่มเป้าหมายได้รับการถ่าย ทอดองค์ความรู้ที่เหมาะสม • ผลักดันให้องค์กรทุกระดับและทุกภาคส่วนสร้างนโยบายสาธารณะ มาตรการทางสังคม ระเบียบ • สนับสนุนให้มีเวทีประชาคม • สื่อมวลชน ให้ความร่วมมือในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึงและต่อเนื่อง • สร้างเครือข่ายสื่อมวลชน • พัฒนาศักยภาพสื่อมวลชนด้าน 3 อ. • สนับสนุนสื่อวิชาการด้าน 3 อ.อย่างทั่วถึงและเพียงพอ • ชุมชน องค์กรทุกระดับทุกภาคส่วนมีการผลิตเทคโนโลยี นวัตกรรม คนไทยไร้พุง • พัฒนากระบวน การผลิตเทคโนโลยี นวัตกรรมไร้พุง • ส่งเสริมการวิจัยชุมชนด้าน ไร้พุง • องค์กรทุกระดับและทุกภาคส่วน มีและปฏิบัติตามนโยบายสาธารณะ มาตรการทางสังคม กฎหมายระเบียบ สู่การปฏิบัติ • สร้างเครือข่ายภาคีประชาสังคม • สนับสนุนให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้คนไทยไร้พุง • ผลักดันการถ่ายทอดยุทธศาสตร์ • องค์กรวิชาการ สนับสนุนองค์ความรู้ /วิชาการ • สร้างเครือข่ายวิชาการ • พัฒนาองค์ความรู้คนไทยไร้พุง ระดับกระบวนการ (Management) • มีระบบเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพ • พัฒนาระบบเฝ้าระวัง • สร้างเครือข่ายการเชื่อมต่อระบบ • เร่งรัดให้มีการนำระบบเฝ้าระวังไปใช้สู่การปฏิบัติ • ผลักดันให้มีการเชื่อมต่อระบบกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • จัดทำระบบคาดการณ์อนาคตสำหรับผู้บริหาร • มีระบบการบริหารจัดการและประสาน งานภาคีเครือข่าย • พัฒนาระบบการบริหารจัดการและประสานงานภาคีเครือข่าย • สร้างระบบ CRM • สร้างเกณฑ์การประเมินระบบบริหารจัดการ • มีระบบข้อมูลสารสนเทศ และการจัดการความรู้ที่ทันสมัย • พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ และการจัดการความรู้ที่ทันสมัย • สนับสนุนให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • สร้างเกณฑ์การประเมินระบบการบริหารจัดการ • ประเมินผลการใช้ระบบ • มีระบบสื่อสารสังคมที่มีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง • พัฒนาระบบสื่อสารสังคมให้มีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง • สร้างเครือข่ายการสื่อสาร • สนับสนุนให้มีการประสานงานและบริหารความสัมพันธ์กับเครือข่ายสื่อมวลชน • มีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ • ประสานกับเครือข่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อรวบรวมข้อมูลในการจัดจัดทำแผนยุทธศาสตร์ • จัดทำแผนยุทธศาตร์แบบบูรณาการ • สื่อสารและถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ • ประเมินแผนยุทธศาสตร์แบบมีส่วนร่วม • มีระบบ M&Eที่มีระสิทธิภาพ • พัฒนาระบบ M&E • เร่งรัดให้มีการนำระบบ M&E สู่การปฏิบัติ • พัฒนาบุคลากรด้าน M&E • ส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • มีระบบรับฟังและเรียนรู้ความต้องการของผู้รับบริการและเครือข่าย • สำรวจระบบรับฟังและความต้องการของผู้รับบริการและเครือข่าย • ส่งเสริมการให้มีการนำระบบรับฟังและเรียนรู้สู่การปฏิบัติ • มีระบบประเมินผล • องค์กรมีวัฒนธรรมที่ดี • ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีวัฒนธรรมองค์กร • ปลูกฝังให้ปฏิบัติตามวัฒนธรรมองค์กรอย่างต่อเนื่อง • สร้างแรงจูงใจและให้รางวัล • สร้างความเข็มแข็งให้กับองค์กร • มีระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย • สำรวจฐานข้อมูล • พัฒนาระบบข้อมูล • เชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลให้กับเครือข่ายเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ • ประเมินผลการใช้ระบบ ระดับพื้นฐาน (Learning /Development) • บุคลากรมีสมรรถนะที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ • ปลูกฝังให้มีจิตสำนึก • พัฒนาสมรรถนะของบุคลากร • สนับสนุนให้มีเวทีแสดงผลงาน
แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2554 ของกรมอนามัย 16. ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพตามหลักการ 3 อ. ระดับประชาชน (Valuation) 13. ชุมชน/องค์กร มีแกนนำ คนไทยต้นแบบ ไร้พุง 15 ประชาชนประเมินและเฝ้าระวังพฤติกรรมด้านโภชนาการ ออกกำลังกาย และอารมณ์ได้ด้วยตนเอง 14.ประชาชนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ด้านพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 11.องค์กรทุกระดับและทุกภาคส่วน มีนโยบาย มาตรการทางสังคม กฎ ระเบียบ และนำไปใช้สู่การปฏิบัติ 12. ชุมชน องค์กร ผู้ผลิต ผู้ค้าทุกระดับ ทุกภาคส่วน มีการผลิตเทคโนโลยี นวัตกรรม คนไทยไร้พุง 9. หน่วยงานภาครัฐ / เอกชน / รร. สามารถบริหารจัดการสู่องค์กรต้นแบบไร้พุง ระดับภาคี (Stakeholder) 10. ชุมชน องค์กร/ผู้ผลิต ผู้ค้าทุกระดับทุกภาคส่วน ได้รับการถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์/องค์ความรู้ สู่การปฏิบัติ 8. สถานบริการพัฒนาสู่การเป็นต้นแบบ DPAC (คลินิกไร้พุง) 5. มีระบบการบริหารจัดการและประสาน งานภาคีเครือข่าย 6. มีระบบสื่อสารสังคมที่มีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง 7. มีระบบเฝ้าระวังระบบข้อมูลสารสนเทศ และการจัดการความรู้ที่ทันสมัย ระดับกระบวนการ (Management) 4. มีแผนยุทธที่ศาสตร์แบบบูรณาการ 3.ระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย ถูกต้อง ครบถ้วน เข้าถึงได้ 2.สมรรถนะของบุคลากรสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ระดับพื้นฐาน (Learning /Development) 7 1.วัฒนธรรมที่ดี
แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2554 ของกรมอนามัย 16. ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพตามหลักการ 3 อ. KRI 1.ประชาชนชายอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวน้อยกว่า 90 ซม. 2.ประชาชนหญิงอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวน้อยกว่า 80 ซม. 3.เด็กอายุ 6 – 14 ปี มีน้ำหนักเทียบกับส่วนสูงเป็นปกติ 9. หน่วยงานภาครัฐ / เอกชน / รร./อปท. สามารถบริหารจัดการสู่องค์กรต้นแบบไร้พุง S : ส่งเสริมหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน/รร./อปท. ให้เป็นองค์กรต้นแบบไร้พุง KPI : องค์กรสามารถบริหารจัดการเป็นองค์กรต้นแบบไร้พุง 15 ประชาชนสามารถประเมินและเฝ้าระวังพฤติกรรมด้านโภชนาการ ออกกำลังกาย และอารมณ์ได้ ด้วยตนเอง ระดับประชาชน (Valuation) 14.ประชาชนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ด้านพฤติกรรมตามหลักการ 3 อ. 13. ชุมชน/องค์กร มีแกนนำคนไทยต้นแบบไร้พุง S : พัฒนาให้ประชาชนมีทักษะประเมินและเฝ้าระวังตนเอง S : สร้างแกนนำคนไทยต้นแบบไร้พุงในองค์กร/ชุมชน 2.8 แสนคน S :สร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ 130องค์กร KPI : ประชาชนสามารถประเมินตนเองและปฏิบัติตนด้วย 3 อ. KPI : แกนนำสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ 70% KPI : ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถใช้แหล่งเรียนรู้ 12. ชุมชน องค์กร ผู้ผลิต ผู้ค้าทุกระดับ ทุกภาคส่วน มีการผลิตเทคโนโลยี นวัตกรรม คนไทยไร้พุง 11.องค์กรทุกระดับและทุกภาคส่วนมีนโยบาย/มาตรการทางสังคม/กฎ ระเบียบ และนำไปใช้สู่การปฏิบัติ S : พัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการตลาด ผู้ประกอบการ ในการผลิตผลิตภัณฑ์คุณภาพด้านอาหารและออกกำลังกาย KPI : ชุมชนองค์กรผู้ผลิต ผู้ค้าสามารถผลิตเทคโนโลยีนวัตกรรมคนไทยไร้พุง S : สนับสนุนให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะด้านคนไทยไร้พุง 130 องค์กร 294 ร้าน/21 ราย/7แห่ง/ 1 รูปแบบ KPI : องค์กรสามารถปฏิบัติตามนโยบายสาธารณะ 130 แห่ง ระดับภาคี (Stakeholder) 10. ชุมชน องค์กร/ผู้ผลิต ผู้ค้าทุกระดับทุกภาคส่วน ได้รับการถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์/องค์ความรู้สู่การปฏิบัติ 8. สถานบริการพัฒนาสู่การเป็นต้นแบบ DPAC (คลินิกไร้พุง) 42 แห่ง S : ผลักดันให้มีการจัดตั้ง DPAC S : ผลักดันสนับสนุนการถ่ายทอดยุทธศาสตร์/องค์ความรู้ KPI :สถานบริการสามารถบริการได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน KPI : - ภาคีสามารถนำแผนที่ยุทธศาสตร์ไปใช้ - ภาคีสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ 130 แห่ง 5. มีระบบการบริหารจัดการและประสานงานภาคีเครือข่าย 6. มีระบบสื่อสารสังคมที่มีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง 7. มีระบบเฝ้าระวังระบบข้อมูลสารสนเทศ และการจัดการความรู้ที่ทันสมัย S : พัฒนาระบบบริหารจัดการและประสานงานภาคีเครือข่าย KPI : ภาคีเครือข่ายสามารถบริหารโครงการและประสานงานได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด 130 องค์กร S : สนับสนุนให้มีการประสานงานและบริหารความสัมพันธ์กับเครือข่ายสื่อมวลชน S : พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ข้อมูลสารสนเทศ/การจัดการความรู้ที่ทันสมัย ระดับกระบวนการ (Management) KPI : ภาคีสื่อมวลชนสามารถสื่อสารสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ KPI : ภาคีเครือข่ายสามารถใช้และเชื่อมต่อระบบ – เฝ้าระวัง – สารสนเทศ – องค์ความรู้ 1 ระบบ 5 ช่องทาง 4. มีแผนที่ยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ S : จัดทำแผนกับภาคีเครือข่ายอย่างมีส่วนร่วม 90% KPI : ภาคีมีส่วนร่วมในการทำแผนที่ยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ 3.ระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย ถูกต้อง ครบถ้วน เข้าถึงได้ 2.สมรรถนะของบุคลากรสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ระดับพื้นฐาน (Learning /Development) 1.วัฒนธรรมที่ดี S : พัฒนาระบบข้อมูลให้ทันสมัย เป็นจริง 8 S :ปลูกฝัง ส่งเสริม สนับสนุนให้ปฏิบัติตามวัฒนาธรรมอย่างต่อเนื่อง S : พัฒนาสมรรถนะบุคลากรให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ KPI : เครือข่ายเชื่อมต่อระบบและใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน 95% 240 องค์กร KPI : บุคลากรผ่านเกณฑ์การประเมิน HAT KPI : บุคลากรที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตาม Competency 90%
1 แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย ยุทธศาสตร์ 1. องค์กรมีวัฒนธรรมองค์กรที่ดี S : ปลูกฝัง ส่งเสริม สนับสนุนให้ปฏิบัติตามวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่อง KPI : บุคลากรผ่านเกณฑ์การประเมิน HEALTH (มีต่อ)
1 แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย ยุทธศาสตร์ 1. องค์กรมีวัฒนธรรมองค์กรที่ดี (ต่อ) S : ปลูกฝัง ส่งเสริม สนับสนุนให้ปฏิบัติตามวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่อง KPI : บุคลากรผ่านเกณฑ์การประเมิน HEALTH
2 แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย ยุทธศาสตร์ 2.บุคลากรมีสมรรถนะที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ S : พัฒนาสมรรถนะบุคลากรให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ KPI : บุคลากรที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตาม Competency
3 แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย ยุทธศาสตร์ 3. ระบบฐานขอมูลที่ทันสมัยถูกต้อง ครบถ้วน เข้าถึงได้ S : พัฒนาระบบข้อมูลให้ทันสมัย เป็นจริง KPI : เครือข่ายเชื่อมต่อระบบและใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน กลับเมนู SLM O : ชัยชนะ / รัตนาวดี
แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย 4 ยุทธศาสตร์ 4. มีแผนยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ S : จัดทำแผนกับภาคีเครือข่ายอย่างมีส่วนร่วม KPI : ภาคีมีส่วนร่วมในการทำแผนที่ยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ O : อวัตถ์ เชาวน์ลิลิตกุล ,วิไลสุดา
5 แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย ยุทธศาสตร์ 5. มีระบบการบริหารจัดการและประสานงานภาคีเครือข่าย S : พัฒนาระบบบริหารจัดการและประสานงานภาคีเครือข่าย KPI : ภาคีเครือข่ายสามารถบริหารโครงการและประสานงานได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด O : กุลพร/ศิริบงกช, ภคพิมล,วรลักษณ์
6 แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย ยุทธศาสตร์ 6. มีระบบสื่อสารสังคมที่มีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง S : สนับสนุนให้มีการประสานงานและบริหารความสัมพันธ์กับเครือข่ายสื่อมวลชน KPI : ภาคีสื่อมวลชนสามารถสื่อสารสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
7 แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย ยุทธศาสตร์ 7.มีระบบเฝ้าระวัง ระบบข้อมูลสารสนเทศและการจัดการความรู้ที่ทันสมัย S : พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ข้อมูลสารสนเทศ/การจัดการความรู้ที่ทันสมัย KPI : ภาคีเครือข่ายสามารถใช้และเชื่อมต่อระบบ – เฝ้าระวัง – สารสนเทศ – องค์ความรู้
8 แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย ยุทธศาสตร์ 8. สถานบริการพัฒนาสู่การเป็นต้นแบบ DPAC (คลินิกไร้พุง) S : ผลักดันให้มีการจัดตั้ง DPAC KPI :สถานบริการสามารถบริการได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน O : นพ. กฤช/ ณัฎฐิรา
9 แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย ยุทธศาสตร์ 9 หน่วยงานภาครัฐ/เอกชน/รร.สามารถบริหารจัดการสู่องค์กรต้นแบบไร้พุง S : ส่งเสริมหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน/รร. ให้เป็นองค์กรต้นแบบไร้พุง KPI : หน่วยงานภาครัฐ/เอกชน/รร. สามารถบริหารจัดการเป็นองค์กรต้นแบบไร้พุง
แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย ยุทธศาสตร์ 10. ชุมชนองค์กร/ผู้ผลิต/ผู้ค้า ทุกระดับทุกภาคส่วนได้รับการถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์องค์ความรู้สู่การปฏิบัติ 10 S : ผลักดันสนับสนุนการถ่ายทอดยุทธศาสตร์/องค์ความรู้ KPI : - ภาคีสามารถนำแผนที่ยุทธศาสตร์ไปใช้ - ภาคีสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้
แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย 11 ยุทธศาสตร์ 11. องค์กรทุกระดับและทุกภาคส่วน มีนโยบายสาธารณะ มาตรการทางสังคม กฎระเบียบ และนำไปใช้สู่การปฏิบัติ S : สนับสนุนให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะด้านคนไทยไร้พุง KPI : องค์กรสามารถปฏิบัติตามนโยบายสาธารณะ กลับเมนู SLM O : วรลักษณ์ คงหนู /สุกัญญา
แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย 12 ยุทธศาสตร์ 12. ชุมชน องค์กร ผู้ผลิต ผู้ค้า ทุกระดับ ทุกภาคส่วน มีการผลิตเทคโนโลยี นวัตกรรม คนไทยไร้พุง S : พัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการตลาด ผู้ประกอบการ ในการผลิตผลิตภัณฑ์คุณภาพ ด้านอาหารและออกกำลังกาย KPI : ชุมชนองค์กรผู้ผลิต ผู้ค้าสามารถผลิตเทคโนโลยีนวัตกรรมคนไทยไร้พุง กลับเมนู SLM O : วิไลลักษณ์ / วุสนธรี / สุพิชชา
แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย 13 ยุทธศาสตร์ 13 ชุมชน / องค์กร มีแกนนำคนไทยต้นแบบไร้พุง S : สร้างแกนนำคนไทยต้นแบบไร้พุงในองค์กร/ชุมชน KPI : แกนนำสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ กลับเมนู SLM O : วณิชา กิจวรพัฒน์ / นงพะงา
แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย ยุทธศาสตร์ 14 ประชาชนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ด้านพฤติกรรมตามหลักการ 3 อ. 14 S : สร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ KPI : ประชาชนสามรถใช้แหล่งเรียนรู้
15 แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย ยุทธศาสตร์ 15 ประชาชนสามารถประเมินและเฝ้าระวังพฤติกรรมด้านโภชนาการ ออกกำลังกาย และอารมณ์ได้ด้วยตนเอง S : พัฒนาให้ประชาชนมีทักษะประเมินและเฝ้าระวังตนเอง KPI : ประชาชนสามารถประเมินตนเองและปฏิบัติตนด้วย 3 อ. กลับเมนู SLM O : วณิชา / นันทจิต/ นพ. เฉลิมพงศ์
แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย ยุทธศาสตร์16. ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพตามหลักการ 3 อ. 16 KRI 1. ประชาชนชายอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวน้อยกว่า 90 ซม. 2. ประชาชนหญิงอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวน้อยกว่า 80 ซม. 3.เด็กอายุ 6 – 14 ปี มีน้ำหนักเทียบกับส่วนสูงเป็นปกติ
แผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย (คนไทยไร้พุง)กรมอนามัย พ.ศ. 2553 – 2556
1.วัฒนธรรมที่ดี S :ปลูกฝัง ส่งเสริม สนับสนุนให้ปฏิบัติตามวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่อง KPI : บุคลากรผ่านเกณฑ์การประเมิน HEALTH
2.สมรรถนะของบุคลากรสอดคล้องกับยุทธศาสตร์2.สมรรถนะของบุคลากรสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ S :พัฒนาสมรรถนะบุคลากรให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ KPI : บุคลากรที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตาม Competency
3.ระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย ถูกต้อง ครบถ้วน เข้าถึงได้ S : พัฒนาระบบข้อมูลให้ทันสมัย เป็นจริง KPI : เครือข่ายเชื่อมต่อระบบและใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน
4.มีแผนที่ยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ4.มีแผนที่ยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ S : จัดทำแผนกับภาคีเครือข่ายอย่างมีส่วนร่วม KPI : ภาคีมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ
5. มีระบบการบริหารจัดการและประสานงานภาคีเครือข่าย S :พัฒนาระบบบริหารจัดการและประสานงานภาคีเครือข่าย KPI : ภาคีเครือข่ายสามารถบริหารโครงการและประสานงานได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด
6. มีระบบสื่อสารสังคมที่มีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง S : สนับสนุนให้มีการประสนงานและบริหารความสัมพันธ์กับเครือข่ายสื่อมวลชน KPI : ภาคีสื่อมวลชนสามารถสื่อสารสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
7. มีระบบเฝ้าระวัง ระบบข้อมูลสารสนเทศและการจัดการความรู้ที่ทันสมัย S : พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ข้อมูลสารสนเทศ /การจัดการความรู้ที่ทันสมัย KPI : ภาคีเครือข่ายสามารถใช้และเชื่อมต่อระบบเฝ้าระวัง/สารสนเทศ/องค์ความรู้
8.สถานบริการพัฒนาสู่การเป็นต้นแบบ DPAC (คลินิกไร้พุง) S : ผลักดันให้มีการจัดตั้ง DPAC KPI : สถานบริการสามารถบริการได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน
9. หน่วยงานภาครัฐ/เอกชน/รร. สามารถบริหารจัดการสู่องค์กรต้นแบบไร้พุง S : ส่งเสริมหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน/รร. ให้เป็นองค์กรต้นแบบไร้พุง KPI : หน่วยงานภาครัฐ/เอกชน/รร.สามารถบริหารจัดการเป็นองค์กรต้นแบบไร้พุง
10.ชุมชน องค์กร/ผู้ผลิต ผู้ค้าทุกระดับทุกภาคส่วนได้รับการถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์/องค์ความรู้สู่การปฏิบัติ S : ผลักดันสนับสนุนการถ่ายทอดยุทธศาสตร์/องค์ความรู้ KPI 1: ภาคีสามารถนำแผนที่ยุทธศาสตร์ไปใช้ KPI 2: ภาคีสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้
11. องค์กรทุกระดับและทุกภาคส่วนมีนโยบาย/มาตรการทางสังคม/กฎ ระเบียบและนำไปใช้สู่การปฏิบัติ S : สนับสนุนให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะคนไทยไร้พุง KPI : สมาชิกองค์กรสามารถปฏิบัติตามนโยบายสาธารณะ
12. ชุมชน องค์กร ผู้ผลิตผู้ค้าทุกระดับทุกภาคส่วนมีการผลิตเทคโนโลยี นวัตกรรม คนไทยไร้พุง S : พัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการตลาด ผู้ประกอบการในการผลิตผลิตภัณฑ์คุณภาพด้านอาหารและการออกกำลังกาย KPI : ชุมชนองค์กรผู้ผลิต ผู้ค้าสามารถผลิตเทคโนโลยี นวัตกรรมคนไทยไร้พุง
13. ชุมชน/องค์กร มีแกนนำคนไทยต้นแบบไร้พุง S : สร้างแกนนำคนไทยต้นแบบไร้พุงในองค์กร/ชุมชน KPI : แกนนำสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้
14.ประชาชนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ด้านพฤติกรรมตามหลักการ 3 อ. S : สร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ KPI : ประชาชนสามารถใช้แหล่งเรียนรู้
15. ประชาชนสามารถประเมินและเฝ้าระวังพฤติกรรมด้านโภชนาการ ออกกำลังกายและอารมณ์ได้ด้วยตนเอง S : พัฒนาให้ประชาชนมีทักษะประเมินและเฝ้าระวังตนเอง KPI : ประชาชนสามารถประเมินตนเองและปฏิบัติตนเองด้วย 3 อ.