1 / 6

การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดพิษณุโลก ตาก เพชรบูรณ์ สุโขทัย อุตรดิตถ์ จากการจัดอาชีวศึกษา

 อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม  อุตสาหกรรมอาหาร เครื่องดื่มและ การบรืการ  อุตสาหกรรมเกษตร. อุตสาหกรรม เป้าหมาย. การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดพิษณุโลก ตาก เพชรบูรณ์ สุโขทัย อุตรดิตถ์ จากการจัดอาชีวศึกษา. สถานประกอบการ. นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ. ผู้ใช้. เพิ่มพูน ทักษะและ

Download Presentation

การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดพิษณุโลก ตาก เพชรบูรณ์ สุโขทัย อุตรดิตถ์ จากการจัดอาชีวศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม  อุตสาหกรรมอาหาร เครื่องดื่มและ การบรืการ  อุตสาหกรรมเกษตร อุตสาหกรรม เป้าหมาย การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดพิษณุโลก ตาก เพชรบูรณ์ สุโขทัย อุตรดิตถ์จากการจัดอาชีวศึกษา สถานประกอบการ นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ ผู้ใช้ เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ผู้ซ่อม การแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาคน สังคม และชุมชนที่มีคุณภาพ ศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการ  ศูนย์วิทยุชุมชน  อาชีวะแก้ปัญหาความยากจน  ต่อยอดองค์ความรู้ และเพิ่มมูลค่าสินค้าชุมชน  สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และนวัตกรรมตามความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น Fix It Center อาชีวะร่วมด้วยช่วยประชาชน  ถนนอาชีพ และ ๑๐๘ อาชีพ ฯลฯ ผู้สร้าง อาชีพอิสระ สนองความต้องการ ชุมชนท้องถิ่น (ช่างชุมชน) •  ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา งานหาคน คนหางาน • เรียนเป็นเรื่อง เป็นชิ้นงาน เป็นโครงการ • เทียบโอนประสบการณ์ ต่อยอดความรู้ • เรียนไปด้วย ทำงานไปด้วย มีรายได้ระหว่างเรียน • คุณวุฒิวิชาชีพให้ความสำคัญกับประสบการณ์และทักษะ  การบริหารจัดการกำลังคน •  เครือข่ายชุมชน (อบจ. อบต.) และเครือข่ายสถานประกอบการ สร้างและพัฒนา ความเป็นผู้ประกอบการ ให้ความรู้ด้านการทำธุรกิจ แก่ผู้ผลิต พัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

  2. จังหวัดพิษณุโลก สถานศึกษา สังกัด สพฐ 495 แห่ง (สปช. 451 แห่ง และ สศ.44 แห่ง) สังกัด เอกชน 85 แห่ง สังกัด กศน. 9 แห่ง สังกัด สกอ. 5 แห่ง สังกัด สอศ. 6 แห่ง 1. วท.พิษณุโลก 2. วท.สองแคว 3. วอศ.พิษณุโลก 4. วพ.บึงพระพิษณุโลก 5. วช.พิษณุโลก 6. วก.นครไทย • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศเหนือ มีเขตติดต่อกับประเทศฯ ลาว • เป็นศูนย์กลางด้านคมนาคมภาคเหนือตอนล่าง • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 55,936 บาท ต่อปี (อันดับ 5 • ของภาค อันดับ 41 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร • มีมูลค่าการผลิต 22.23% รองลงมา สาขาการขายส่ง • และการขายปลีก มีมูลค่าการผลิต 19.39% • อาชีพหลักของจังหวัด • เกษตรกรรม ได้แก่ ทำนา ปลูกพืชไร่ • ได้แก่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ • ประชากร • จำนวนประชากร 840,970 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 59,295 คน หรือ 10.37 % • จำนวนผู้ว่างงาน 8,133 คน เป็นชาย 4,664 คน เป็นหญิง 3,469คน อัตราการว่างงาน 1.01% • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน162,408 คนหรือ 37.14%ลำดับรองลงมา คือ อาชีพขั้นพื้นฐานต่าง ๆ ในด้านการขายและการให้บริการ 66,341 คน หรือ 15.17 %และพนักงานบริการพนักงานในร้านค้าและตลาด 54,780 คน หรือ 12.53% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) เพาะเห็ดนางฟ้า 2) ดอกไม้ประดิษฐ์ 3) ทอผ้าพื้นเมือง 4) การทำดอกไม้จันทน์ • 5) การทำพวงหรีด 6) การทำขิงดองเต้าเจี้ยว 7) ช่างเสริมสวย บุรุษ สตรี • 8) มุ้งลวดอลูมิเนียม 9) รองเท้ากระเป๋าผ้าทอมือ 10) ช่างซ่อมบำรุงรถยนต์ • 11) นวดแผนไทยเพื่อสุขภาพ 12) อาชีพพื้นฐานด้านการขายและการให้บริการ • (ที่มา อศจ.พิษณุโลก) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 158,797 คน หรือ 36.31% รองลงมาเป็นลูกจ้างเอกชน 124,176 คน หรือ 28.40 % และ • ช่วยธุรกิจครัวเรือน 88,659 คน หรือ 20.27 % • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 12,658 คน หรือ 2.89% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 315,379 คน หรือ 72.11 % • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 11,806 คน หรือ 2.70% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมการบริการ มีสถานประกอบการ 164 แห่ง มีการจ้างงาน 4,056 คน ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

  3. จังหวัดตาก สถานศึกษา สังกัด สพฐ 254 แห่ง (สปช. 231 แห่ง และ สศ.23 แห่ง) สังกัด เอกชน 7 แห่ง สังกัด กศน. 9 แห่ง สังกัด สกอ. 2 แห่ง สังกัด สอศ. 4 แห่ง 1. วษท.ตาก 2. วช. ตาก 3. วก.แม่สอด 4. วก.บ้านตาก • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศเหนือมีเขตติดต่อกับจังหวัดใหญ่ เศรษฐกิจ • สำคัญของภาคและประเทศไทย คือ จังหวัด • เชียงใหม่ และลำพูน • ทิศตะวันออกมีเขตติดต่อกับประเทศสหภาพพม่า • มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 4 ของประเทศไทย • มีพื้นที่ป่าไม้ครอบคลุมร้อยละ 82% ของพื้นที่ • จังหวัด ที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก • เป็นที่ตั้งสะพานมิตรภาพไทย-พม่า และด่าน • ชายแดนแม่สอน • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 51,868 บาท ต่อปี (อันดับ 7 • ของภาค อันดับ 45 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร • 23.13% รองลงมาการผลิตอุตสาหกรรม มีมูลค่า • การผลิต 14.56 % สาขาการขายส่ง การขายปลีก • 13.48% • อาชีพหลักของจังหวัด • การทำนา และการเพาะปลูกพืช • ประชากร • จำนวนประชากร 522,197 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 37,206 คน หรือ 12.62 % • จำนวนผู้ว่างงาน 4,260คน เป็นชาย 2,330 คน เป็นหญิง 1,930 คน อัตราการว่างงาน 0.9 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด จำนวน115,429 คนหรือ 44.93% ลำดับรองลงมาคือพนักงานบริการพนักงานร้านค้าและ ตลาด 31,445 คน หรือ 12.24% และ อาชีพพื้นฐานต่าง ๆ ด้านการขายและการให้บริการ 27,685 หรือ 10.78% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) ต้นไม้หยก 2) ปุ๋ยชีวภาพ 3) การทำไม้กวาด 4) การทำธูปหอม • 5) น้ำพริกกุ้ง 6) น้ำยาฆ่าแมลงสมุนไพร 7) การทำถั่วทอดสมุนไพร • 8) การทำผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร 9) การทำตาลจากตาลโตนด • 10) ผลิตภัณฑ์จากใบลาน (ที่มา อศจ.ตาก) • ประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 91,706 คน หรือ 35.70% ลำดับรองลงมาเป็นลูกจ้างเอกชน 66,177 คน หรือ 25.76% และ ช่วยธุรกิจครัวเรือน 58,277 คน หรือ 22.69% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 40,677 คน หรือ 15.83% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น- ต่ำกว่าประถมศึกษา160,572 คน หรือ62.5 % • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 4,692 คน หรือ 1.83% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุด ได้แก่ อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม มีสถานประกอบการ 130 แห่ง มีการจ้างงาน 35,421 คน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ

  4. จังหวัดเพชรบูรณ์ สถานศึกษา สังกัด สพฐ 612 แห่ง (สปช. 569 แห่ง และ สศ.43 แห่ง) สังกัด เอกชน 54 แห่ง สังกัด กศน. 11 แห่ง สังกัด สกอ. 1 แห่ง สังกัด สอศ. 5 แห่ง 1. วท.เพชรบูรณ์ 2. วษท.เพชรบูรณ์ 3. วช.เพชรบูรณ์ 4. วก.วิเชียรบุรี 5. วก.ชนแดน • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศตะวันตก มีเขตติดต่อกับจังหวัดเศรษฐกิจ • หลักของภาคและประเทศไทย ได้แก่ จังหวัดนครสวรรค์ • มีพื้นที่มากเป็นอันดับ 9 ของประเทศไทย • ทรัพยากรดิน มีความอุดมสมบูรณ์ปานกลางถึง • ระดับสูง มีสภาพเหมาะสมต่อการทำการเกษตรกรรม • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 42,942 บาท ต่อปี (อันดับ 12 • ของภาค อันดับ 53 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร • มีมูลค่าการผลิต 33.14% รองลงมาสาขาการ • ขายส่งและการขายปลีก 21.3% • สินค้าที่มีชื่อเสียงของจังหวัด • มะขามหวาน • ประชากร • จำนวนประชากร 1,002,459 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 70,592 คน หรือ 10.53 % • จำนวนผู้ว่างงาน 8,304คน เป็นชาย 5,431 คน เป็นหญิง 2,873 คน อัตราการว่างงาน 1.44 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน 244,518 คนหรือ 42.94% ลำดับรองลงมาคืออาชีพขั้นพื้นฐานต่าง ๆ ในด้านการขายและการให้บริการ 104,698 คน หรือ 18.39% และพนักงานบริการพนักงานในร้านค้าและตลาด 67,676 คน หรือ 11.89% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) เลี้ยงโคเนื้อและกระบือ 2) ซ่อมเครื่องจักรกลเกษตร 3) ผลิตปุ๋ยชีวภาพ • 4) ช่างเสริมสวย 5) ช่างตัดเย็บเสื้อผ้า 6) ช่างซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า • 7) ช่างซ่อมรถจักรยานยนต์ 8) ช่างซ่อมรถยนต์ 9) ผู้ประกอบการอาหาร • 10) ซ่อมและติดตั้งเครื่องทำความเย็น (ที่มา อศจ.เพชรบูรณ์) • ประชากรอายุ15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 163,608 คน หรือ 28.73% รองลงมาเป็นลูกจ้างเอกชน 159,772 คน หรือ 28.06 % และ • ช่วยธุรกิจครัวเรือน 157,851 คน หรือ 27.72 % • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 23,964 คน หรือ 4.76% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น- ต่ำกว่าประถมศึกษา 388,095 คน หรือ 77.14 % • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 7,324 คน หรือ 1.46% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 43แห่ง มีการจ้างงาน 7,836 คน รองลงมาอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม มีสถานประกอบการ 6 แห่ง มีการจ้างแรงงาน 2,598 คน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ

  5. จังหวัดสุโขทัย สถานศึกษา สังกัด สพฐ 378 แห่ง (สปช. 350 แห่ง และ สศ.28 แห่ง) สังกัด เอกชน 33 แห่ง สังกัด กศน. 9 แห่ง สังกัด สกอ. - แห่ง สังกัด สอศ. 6 แห่ง 1. วท.สุโขทัย 2. วอศ.สุโขทัย 3. วษท. สุโขทัย 4. วช.สุโขทัย 5. วก.ศรีสัชนาลัย 6. วก.ศรีสำโรง • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • เป็นจังหวัดที่อุดมไปด้วย ป่าไม้มีค่าหลายชนิด ได้แก่ • ไม้สัก ไม้เบญจพรรณ ไม้กระยาเลย มีพื้นที่ป่า เหลืออยู่ • 2,133.34 ตร.กม. หรือ 32.34 กม. ของพื้นที่ทั้งหมด • (พ.ศ. 2547) • พื้นดินเหมาะสมแก่การเพาะปลูก • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 40,713 บาท ต่อปี (อันดับ 13 • ของภาค อันดับ 54 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร มีมูลค่า • การผลิต 29.12% รองลงมาสาขาการขายาส่ง • การขายปลีก 20.86% • อาชีพหลักของจังหวัด • เกษตรกรรม ได้แก่ ทำนา ทำสวนผลไม้ ปลูกพืชไร่ • เลี้ยงสัตว์ การทำประมงน้ำจืด • สินค้าที่มีชื่อเสียงของจังหวัด • ทองโบราณ ผ้าจกหาดเสี้ยว ขนมแปรรูป • ประชากร • จำนวนประชากร 610,361 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน40,814คนหรือ 9.85% • จำนวนผู้ว่างงาน 5,934คน เป็นชาย 5,513 คน เป็นหญิง 421คน อัตราการว่างงาน 1.0 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน 191,304 คนหรือ 56.92%ลำดับรองลงมาคือผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจการค้าที่เกี่ยวข้อง 38,734 คน หรือ 11.52 % อาชีพขั้นพื้นฐานต่างๆ ในด้านการขายและการให้บริการ 37,828 คน หรือ 11.25 % และพนักงานบริการและพนักงานร้านค้าและตลาด 35,186 คน หรือ 10.47% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) อาชีพทำถั่วทอด 2) อาชีพทำเครื่องประดับทอง เงินลายโบราณ • 3) อาชีพทอผ้าพื้นเมือง 4) อาชีพการทำตู้โบราณ 5) อาชีพการทำเครื่องสังคโลก • 6) อาชีพการทำเครื่องปั้นดินเผา 7) อาชีพเกษตรกรรม (อ้อย ยาสูบ ใบตอง • สวนผลไม้ ข้าวโพด) 8) อาชีพทำผลิตภัณฑ์ไม้แกะสลัก • 9) อาชีพการทำขนมเกลียว 10) อาชีพการทำกล้วยอบเนย เผือกฉาบ มันฉาบ • (ที่มา อศจ.สุโขทัย) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 146,560 คน หรือ 43.60 %ลำดับรองลงมาช่วยธุรกิจครัวเรือน 93,655 คนหรือ 27.86% และลูกจ้างเอกชน 73,344 คน หรือ 21.82% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 10,812 คน หรือ 3.22% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น- ต่ำกว่าประถมศึกษา 281,512 คน หรือ 83.75 % • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 5,023 คน หรือ 1.49% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม มีสถานประกอบการ 8 แห่ง มีการจ้างงาน 1,285 คน รองลงมาอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม • มีสถานประกอบการ 116 แห่ง มีการจ้างแรงงาน 1,210 คน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ

  6. จังหวัดอุตรดิตถ์ สถานศึกษา สังกัด สพฐ 333 แห่ง (สปช. 313 แห่ง และ สศ.20 แห่ง) สังกัด เอกชน 34 แห่ง สังกัด กศน. 10 แห่ง สังกัด สกอ. 2 แห่ง สังกัด สอศ. 4 แห่ง 1. วท.อุตรดิตถ์ 2. วอศ. อุตรดิตถ์ 3.วช.อุตรดิตถ์ 4. วก.พิชัย • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศตะวันออกมีเขตติดต่อกับประเทศฯ ลาว • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 47,705 บาท ต่อปี (อันดับ 9 • ของภาค อันดับ 50 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจาก ภาคเกษตร • มีมูลค่าการผลิต 28.64% รองลงมาสาขาการขายส่ง • การขายปลีก 17.61% และสาขาการผลิตอุตสาห- • กรรม 10.63% • สินค้าที่มีชื่อเสียงของจังหวัด • รางสาด • ประชากร • จำนวนประชากร 469,387 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 30,980 คน หรือ 9.76 % • จำนวนผู้ว่างงาน 3,291คน เป็นชาย 1,056 คน เป็นหญิง 2,236 คน อัตราการว่างงาน 0.7 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน 111,812 คนหรือ 45.67%ลำดับรองลงมาคือพนักงานบริการ พนักงานร้านค้า และตลาด 34,377 คน หรือ 14.04%และอาชีพขั้นพื้นฐานต่างๆ ในด้านการขายและการให้บริการ 33,816 คน หรือ 13.81% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) ทำนาปี 2) ประมง 3) การบริการและการท่องเที่ยว • 4) การถนอมอาหารและแปรรูปวัตถุดิบทางการเกษตร • 5) การเย็บเสื้อผ้าระบบอุตสาหกรรม 6) การจัดดอกไม้สดเชิงธุรกิจ • 7) ผลิตภัณฑ์จากผ้าพื้นเมือง 8) ผลิตภัณฑ์เหล็กน้ำพี้ 9) เครื่องยนต์การเกษตร • 10) เครื่องใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (ที่มา อศจ.อุตรดิตถ์) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 100,405 คน หรือ 41.01% ลำดับรองลงมาช่วยธุรกิจครัวเรือน 57,970 คน หรือ 23.68% และเป็นลูกจ้างเอกชน 50,106 คน หรือ 20.47% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 5,969 คน หรือ 2.44% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น- ต่ำกว่าประถมศึกษา 175,629 คน หรือ 71.74 % • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 8,462 คน หรือ 3.46% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 25 แห่ง มีการจ้างงาน 3,545 คน ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

More Related