1 / 36

ความคืบหน้าการทำข้อตกลงเขตการค้าเสรี ของประเทศไทย

ความคืบหน้าการทำข้อตกลงเขตการค้าเสรี ของประเทศไทย. โดย นางนิรัชรา เบญจนิรัติศัย นักวิชาการพาณิชย์ 8 ว กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ วันอังคารที่ 16 สิงหาคม 2548 ณ ห้องซาลอน B โรงแรมสวิสโฮเต็ล เลอ คองคอร์ด. เขตการค้าเสรี (Free Trade Area : FTA)คืออะไร. เป็นความตกลงระหว่างสองประเทศขึ้นไป

Download Presentation

ความคืบหน้าการทำข้อตกลงเขตการค้าเสรี ของประเทศไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความคืบหน้าการทำข้อตกลงเขตการค้าเสรีของประเทศไทยความคืบหน้าการทำข้อตกลงเขตการค้าเสรีของประเทศไทย โดย นางนิรัชรา เบญจนิรัติศัย นักวิชาการพาณิชย์ 8 ว กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ วันอังคารที่ 16 สิงหาคม 2548 ณ ห้องซาลอน B โรงแรมสวิสโฮเต็ล เลอ คองคอร์ด

  2. เขตการค้าเสรี (Free Trade Area : FTA)คืออะไร • เป็นความตกลงระหว่างสองประเทศขึ้นไป • เพื่อขยายการค้า/การลงทุนระหว่างกัน และสร้าง พันธมิตรทางเศรษฐกิจ • พยายามลดอุปสรรคด้านภาษี และไม่ใช่ภาษีให้เหลือน้อยที่สุด • ประเทศคู่สัญญาสามารถเจรจากันได้ว่าจะลดภาษีให้แก่กันในสินค้าใด ลดอย่างไร และใช้ระยะเวลาในการลดนานเท่าใด • ขอบเขตของ FTA ครอบคลุมทั้งสินค้า บริการ การลงทุน และความร่วมมือทางเศรษฐกิจ/การค้าต่างๆ

  3. ทำไมไทยต้องทำ FTA • อยู่นิ่งเฉย เท่ากับ ถดถอย หรือเป็นเพียงการตั้งรับ เราอาจสูญเสียตลาด และถูกประเทศคู่แข่งรุกรานด้านการค้า • ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ เช่น สหรัฐ ญี่ปุ่น สหภาพยุโรป ต่างทำFTA • การค้าระหว่างประเทศ มีผลมากต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย • มูลค่าการค้า การส่งออก และการนำเข้า คิดเป็นร้อยละ 117 , 59และ 58 (ตามลำดับ) ของ GDP ปี2547 • สถานการณ์แข่งขันการค้าโลกรุนแรงและรวดเร็วมากขึ้น • ไทยเสียสิทธิทางภาษีที่เคยได้ เช่น GSP ในขณะที่แอฟริกา และ อเมริกาใต้ยังได้อยู่ ดังนั้นไทยจึงเสียเปรียบและอาจเสียส่วนแบ่งตลาด • “รุก” ในส่วนที่ทำได้ จึงดีกว่ารอรับอย่างเดียว

  4. ไทยได้อะไรจาก FTA • ยกระดับความสามารถการแข่งขันทางการผลิตของไทย • วัตถุดิบถูกลง • เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน • ภาษีต่ำกว่าคู่แข่งขัน • ความร่วมมือด้านเทคโนโลยีใหม่ๆ พัฒนาสินค้า • นักลงทุนมีความเชื่อมั่นมากขึ้น • การลงทุนจากต่างประเทศไหลเข้าสู่ไทย/มองเห็นตลาดที่กว้างขึ้น • สร้างพันธมิตรที่จะเกื้อกูลกันทางเศรษฐกิจ • เพิ่มอำนาจต่อรองของไทยในเวทีโลก

  5. ผลกระทบ • การทำ FTA มีทั้งประโยชน์ และผลกระทบ ต้องยอมรับว่าไม่มีที่ไหนในโลกที่มีแต่ได้โดยไม่ยอมเสีย จึงต้องมีการเสียบางส่วนเพื่อประโยชน์โดยรวม -ผู้ผลิตบางสาขาต้องเผชิญกับการแข่งขันเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะ SMEs ต้องมีการปรับตัวพัฒนาให้มีความพร้อม - ผู้ผลิตในอุตสาหกรรมเกิดใหม่ที่ต้องการการปกป้องจากรัฐ - ผู้ผลิตที่ไม่พร้อมจะแข่งขัน รัฐได้ช่วยเหลือโดย * เจรจายืดเวลาการลดภาษีออกไป 5-20 ปีให้มีการปรับตัว เช่น เรื่องนมกับออสเตรเลีย ใช้เวลา 20 ปี ในการลดภาษีเป็น 0 * ความช่วยเหลือเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ เช่น รัฐอนุมัติ วงเงิน 10,000 ล้านบาท เพื่อการปรับโครงสร้างภาคเกษตร

  6. การเลือกคู่เจรจา - ตลาดดั้งเดิม / คู่ค้าหลักของไทย เช่น สหรัฐฯ และ ญี่ปุ่น - เป็นประตูการค้า/การลงทุน เช่น บาห์เรน อินเดีย และเปรู - ตลาดใหม่ที่มีศักยภาพ เช่น จีน อินเดีย ออสเตรเลีย และ นิวซีแลนด์ - มีอุปสรรคในการเข้าสู่ตลาด โดยเฉพาะมาตรการสุขอนามัย - กลุ่มประเทศ ที่มีการรวมตัวอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อประหยัดเวลา ทรัพยากร ได้ผลในการเจรจา เช่น EFTAและBIMSTEC

  7. การเตรียมพร้อมในการเจรจา การเตรียมพร้อมในการเจรจา • ก่อนการเจรจา - ได้มีการศึกษาวิเคราะห์ในภาพรวม ในการจัดทำ FTAไทยจะได้ประโยชน์หรือเสียประโยชน์ - เตรียมพร้อมในบริหารการเจรจา อย่างเป็นระบบ

  8. การเตรียมพร้อมในการเจรจาการเตรียมพร้อมในการเจรจา ประเด็นที่มีการเจรจา FTA และหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบ - การเปิดตลาด : กระทรวงพาณิชย์ - แหล่งกำเนิดสินค้า : กระทรวงการคลัง - การลดเลิกอุปสรรคทางการค้า :- มาตรการสุขอนามัย : กระทรวงเกษตรฯ :- มาตรฐานสินค้า : กระทรวงอุตสาหกรรม - การค้าบริการ : กระทรวงพาณิชย์และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - การลงทุน : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) - ทรัพย์สินทางปัญญา : กรมทรัพย์สินทางปัญญา - E- Commerce : กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)

  9. การเตรียมพร้อมในการเจรจาการเตรียมพร้อมในการเจรจา • ระหว่างการเจรจา - ได้มีการจ้างสถาบันศึกษาต่างๆศึกษาผลดี/ผลเสียเป็นรายสินค้า พร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะ และมาตรการรองรับ - ได้มีการประชุมหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดทั้งภาครัฐ และเอกชน - เปิดรับฟังข้อคิดเห็น/เผยแพร่ข้อมูลจากภาคเอกชน ประชาชนทั่วไป และชี้แจงข้อมูลและความคืบหน้า FTA เช่น รัฐสภา กรรมาธิการฯมีwebsite: www.dtn.moc.go.th หรือ thaifta.com และ CallCenter โทร. 025077444 และ 025077555 - จัดหน่วยเจาะตลาดเชิงรุก (Trade Commando)เข้าไปหาข้อมูลเชิงลึก - การเตรียมพร้อมปรับมาตรการของไทยเพื่อให้เหมาะสม

  10. กระบวนการเจรจา FTA คณะกรรมการกำหนดยุทธศาสตร์และแนวทางการเจรจาจัดทำเขตการค้าเสรี (รนม./รมว.พณ. : นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์) คณะอนุกรรมการ ประเมินผลและ กำหนดแนวทาง การเจรจา เอฟ ที เอ (ที่ปรึกษา รมว.ฯ นายสมพล เกียรติไพบูลย์) คณะเจรจา การุณ กิตติสถาพร Australia&NZ อภิรดี ตันตราภรณ์ Bahrain สมพล เกียรติไพบูลย์ China ประจวบ ไชยสาส์น India & BIMSTEC พิศาล มาณวพัฒน์ Japan อภิรดี ตันตราภรณ์ Peru นิตย์ พิบูลสงคราม US เกริกไกร จีระแพทย์ EFTA

  11. ไทยทำ FTA กับใคร / ความคืบหน้าอย่างไร • ไทยทำ FTA กับ 8 ประเทศ และ 2 กลุ่มเศรษฐกิจ • เจรจาเสร็จแล้ว 3 ประเทศ : ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ จีน • อยู่ในระหว่างการเจรจา 4 ประเทศ + 2 กลุ่มเศรษฐกิจ โดยอยู่ระหว่างการเจรจา • สหรัฐฯ • อินเดีย • เปรู • บาห์เรน • BIMST-EC (บังคลาเทศ อินเดีย พม่า ศรีลังกา ไทย เนปาล และ ภูฎาน) • EFTA (สวิตเซอร์แลนด์ นอร์เวย์ ไอซ์แลนด์ และลิกเตนสไตน์) • เจรจาได้ข้อยุติ : ญี่ปุ่น

  12. FTA : สถานะความคืบหน้า ญี่ปุ่น สหรัฐฯ ออสเตรเลีย นิวซีแลน จีน อินเดีย เปรู บาห์เรน BIMSTEC EFTA X X X X X Services Goods Investment Framework Goods X X X X Framework Goods X X Framework X X Framework X Framework X X 2002 2003 2004 2005 2006 2007+ ● เริ่มเจรจา, เจรจาเสร็จ X ลงนาม บังคับใช้

  13. ความคืบหน้าของ FTA ในกรอบ • ออสเตรเลีย • นิวซีแลนด์ • จีน • อินเดีย

  14. ไทย-ออสเตรเลีย • มีผลบังคับใช้ 1 ม.ค. 48ไทยจะทยอยลดภาษีจนเหลือ 0 ทุกรายการภายใน 20 ปี • การลดภาษีของไทย - ลดภาษีเหลือ 0ทันที ในปี 2548 ประมาณ 50% ของรายการสินค้า ทั้งหมด ส่วนใหญ่เป็นวัตถุดิบที่ไทยนำเข้า เช่น สินแร่ เคมีภัณฑ์ เชื้อเพลิง ทั้งนี้ อัญมณี และ หนังดิบ/หนังฟอกภาษีเหลือ 0ทันที เช่นกัน - สินค้าที่เหลือ 45 % ทยอยลดภาษีเหลือ 0 ในอีก 5 ปี 2553 (2010)เช่น ผักผลไม้ พลาสติก กระดาษ สิ่งทอ เสื้อผ้า เหล็ก - สินค้าที่เหลือ 5 % เป็นสินค้าอ่อนไหว ใช้เวลาลดภาษีที่ยาวกว่า ประมาณ 10 - 20 ปี โดย ลดภาษีเหลือ 0 * ปี 2558 (2015) เช่น สิ่งทอ เหล็ก ไวน์ * ปี 2663 (2020) เช่น เนื้อ นม เนย * ปี2668 (2025) เช่น นมผงขาดมันเนย น้ำนมและนมพร้อมดื่ม

  15. ไทย-ออสเตรเลีย การลดภาษีของออสเตรเลีย • ลดเหลือ 0 ทันที ในปี 2005 ประมาณ 83% ของรายการสินค้าทั้งหมดเช่น - สินค้าเกษตรทุกรายการ เช่น เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ ยกเว้น ปลาทูน่ากระป๋อง สับปะรดแปรรูป/น้ำสับปะรด - สินค้าอุตสาหกรรมทุกรายการ เช่น อัญมณีและเครื่องประดับ ทองแดง ตะกั่ว ดีบุก • ลดเหลือ 0 ภายในปี 2553(2010) เช่น เครื่องหนัง รองเท้า • สินค้าอ่อนไหว ลดเหลือ 0 ภายในปี 2558(2015) เช่น เสื้อผ้า

  16. รายการ 2547 มค.-มิย.48 ขยายตัว (%) มค-มิย.48 • อัญมณีและ เครื่องประดับ - หนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอกหนังอัด - รองเท้าหนัง 95.0 5.8 2.4 26.2 1.9 0.9 -48.1 -26.9 50.0 การส่งออก อัญมณี/เครื่องหนังของไทยไปออสเตรเลีย หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐฯ

  17. รายการ 2547 มค.-มิย.48 ขยายตัว (%) มค-มิย.48 • เพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและ ทองคำ • เครื่องประดับ อัญมณี • หนังดิบและ หนังฟอก 500.2 0.5 67.5 561.1 0.4 27.2 152.3 300.0 -7.5 การนำเข้า อัญมณี/เครื่องหนังของไทยจากออสเตรเลีย หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐฯ

  18. ไทย - นิวซีแลนด์ • เจรจาโดย ใช้ TAFTA เป็นพื้นฐานสำหรับการเจรจา • ลงนามความตกลงเมื่อวันที่ 19 เมษายน 2548 และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2548 • หลังความตกลงมีผลบังคับใช้จะเจรจาเปิดตลาดการค้าบริการภายใน 3 ปี โดยในระหว่างที่ยังไม่มีการเจรจาทั้งสองฝ่ายจะอำนวยความสะดวกให้คนเดินทางไปทำงานสะดวกยิ่งขึ้น

  19. ไทย - นิวซีแลนด์ • การลดภาษีของไทย -มีระยะเวลาลดที่นานกว่านิวซีแลนด์ โดยทยอยลดเป็น 0ทุกรายการภายใน 20 ปี - ไทยลดภาษีเหลือ 0 ประมาณ 54% ของรายการสินค้าทั้งหมดครอบคลุมสินค้าเกษตร และอุตสาหกรรม เช่น อัญมณี และ หนังดิบ หนังฟอก - ทยอยลดภาษีเป็น 0 ในปี 2553(2010) เช่น ผลิตภัณฑ์หนัง รองเท้าหนังและเครื่องประดับอัญมณี (เงิน โลหะมีค่า และเครื่องประดับเทียม) - สินค้าอ่อนไหวของไทยทยอยลดภาษีเป็น 0 ในปี2558-2563(2015-2020) เช่น ผลิตภัณฑ์หนังอื่นๆ(HS 420500) ไฟเบอร์บอร์ด สิ่งทอ เสื้อผ้า สำหรับสินค้าที่เป็น 0 ในปี2568(2025) เช่น นม ครีม นมผงขาดมันเนย

  20. ไทย - นิวซีแลนด์ • การลดภาษีของนิวซีแลนด์ - นิวซีแลนด์ลดภาษีเหลือ 0 ประมาณ 79% ของรายการสินค้าทั้งหมดครอบคลุมสินค้าเกษตร และอุตสาหกรรม เช่น อัญมณี และ หนังดิบ หนังฟอก และผลิตภัณฑ์หนังบางรายการ - ทยอยลดภาษีเป็น 0 ในปี 2553(2010) เช่น เครื่องประดับอัญมณี - สินค้าอ่อนไหวของนิวซีแลนด์ทยอยลดภาษีเป็น 0 ในปี 2558 (2015) ทั้งนี้ รองเท้าหนัง ทยอยลดภาษีจากร้อยละ 16-17 ในปี2548เป็น 0 ปี2558ผลิตภัณฑ์หนังที่เป็นเครื่องแต่งกาย ทยอยลดภาษีจากร้อยละ 5.5-14 ในปี2548เป็น 0 ปี2558 นอกจากนี้ เช่น สิ่งทอ เสื้อผ้า

  21. รายการ 2547 มค.-มิย.48 ขยายตัว (%) มค-มิย.48 • อัญมณีและ เครื่องประดับ - หนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอกหนังอัด และ รองเท้าหนัง 3.3 0.4 2.2 0.2 29.4 - การส่งออก อัญมณี/เครื่องหนังของไทยไปนิวซีแลนด์ หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐฯ

  22. รายการ 2547 มค.-มิย.48 ขยายตัว (%) มค-มิย.48 • เพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและ ทองคำ • เครื่องประดับ อัญมณี • หนังดิบและ หนังฟอก 0 0 9.8 0 0 7.8 - - 66.0 การนำเข้า อัญมณี/เครื่องหนังของไทยจากนิวซีแลนด์ หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐฯ

  23. อาเซียน - จีน • เร่งลดภาษีสินค้าเกษตรกลุ่มแรก ตอนที่ 01-08 ตั้งแต่ 1 มกราคม 2547(2004) ภาษีจะลดเหลือ 0% ภายในปี 2549(2006) ก่อนหน้านี้ ไทย-จีนลดภาษีผัก/ผลไม้เป็น 0 ตั้งแต่ 1 มกราคม 2546 • ลงนามความตกลงเปิดเสรีการค้าสินค้าเมื่อวันที่ วันที่ 29พฤศจิกายน 2547 • เริ่มลดภาษี 20กรกฎาคม 2548 ภาษีจะลดเหลือ 0% ภายในปี 2553 (2010)

  24. X=Applied MFN tariffrate ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2546 อัตราภาษี (%) 2547 2548 2549 X > 15% 10 5 0 5% < X < 15% 5 0 0 0% < X < 5% 0 0 0 รูปแบบการลด/เลิกภาษีของสินค้า Early Harvestภายใต้ FTA อาเซียน-จีน

  25. X=Applied MFN tariffrate ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2546 อัตราภาษี (%) 2548 2550 2552 2553 X > 20% 20 12 5 0 15% < X < 20% 15 8 5 0 10% < X < 15% 10 8 5 0 5% < X < 10% 5 5 0 0 X < 5% คงอัตราภาษี 0 0 ไม่เกิน 150 รายการ ยืดหยุ่นให้ยกเลิกภาษีได้ภายในวันที่ 1 มกราคม 2555(2012) รูปแบบการลด/เลิกภาษีของสินค้าปกติภายใต้ FTA อาเซียน-จีน

  26. กลุ่ม เพดานอัตราภาษี (%) สินค้าอ่อนไหว(ไม่เกิน 400รายการ) ปี 2555 (2012) 20 ปี 2561 (2018) 0-5 สินค้าอ่อนไหวสูง(ไม่เกิน 100รายการ) ปี 2558 (2015) 50 รูปแบบการลด/เลิกภาษีของสินค้าอ่อนไหวภายใต้ FTA อาเซียน-จีน

  27. การลดภาษีสินค้าอัญมณีและเครื่องหนังอาเซียน-จีนการลดภาษีสินค้าอัญมณีและเครื่องหนังอาเซียน-จีน • ไทย -อัญมณีและเครื่องประดับ ส่วนใหญ่ภาษีเป็น 0 - หนังดิบ/หนังฟอก และเครื่องหนัง ลดเป็น 0 ในปี 2553(2010) ขณะที่หนังฟอกและหนังอัดบางรายการเป็น 0 ในปี 2552 (2009) - รองเท้าหนัง และเครื่องประดับเทียม เป็นสินค้าอ่อนไหว ทยอยลดจนมีภาษี เหลือร้อยละ 5 ในปี 2561(2018) • จีน อัญมณีและเครื่องหนังลดภาษีตามสูตร เช่น ทับทิมและมรกต ลดภาษี จากเดิมร้อยละ 8 เหลือร้อยละ 5 ในปี 2548-2550 เป็น 0 ปี 2552

  28. รายการ 2547 มค.-มิย.48 ขยายตัว (%) มค-มิย.48 • อัญมณีและ เครื่องประดับ - หนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอกหนังอัด - รองเท้าหนัง 12.1 58.5 0.7 5.1 14.1 0.3 -16.4 -54.9 -25.0 การส่งออก อัญมณี/เครื่องหนังของไทยไปจีน หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐฯ

  29. รายการ 2547 มค.-มิย.48 ขยายตัว (%) มค-มิย.48 • เพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและ ทองคำ • เครื่องประดับ อัญมณี • หนังดิบและ หนังฟอก 196.4 4.2 30.7 124.6 1.5 17.8 38.0 0 22.8 การนำเข้า อัญมณี/เครื่องหนังของไทยจากจีน หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐฯ

  30. ไทย - อินเดีย • ตกลงเร่งลดภาษีสินค้าบางส่วน จำนวน 82 รายการ เช่น ผลไม้ (เงาะ มังคุด ลำไย ทุเรียน) อาหารทะเล กระป๋อง เคมีภัณฑ์ อะลูมิเนียม เครื่องใช้ไฟฟ้า เป็นต้น • ลดภาษีเหลือ 0% ภายใน 3 ปี ตั้งแต่ 1 กันยายน 2547(2004) - 1 กันยายน 2549(2006) • ทั้งนี้ มีอัญมณีและเครื่องประดับ 4 รายการ ได้แก่ รัตนชาติ กึ่งรัตนชาติ ฝุ่นผงของเพชร และเครื่องประดับแท้

  31. รายการ 2547 มค.-มิย.48 ขยายตัว (%) มค-มิย.48 • อัญมณีและ เครื่องประดับ - หนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอกหนังอัด - รองเท้าหนัง 33.0 0.5 0.4 20.9 1.6 0.2 58.3 700.0 - การส่งออก อัญมณี/เครื่องหนังของไทยไปอินเดีย หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐฯ

  32. รายการ 2547 มค.-มิย.48 ขยายตัว (%) มค-มิย.48 • เพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและ ทองคำ • เครื่องประดับ อัญมณี • หนังดิบและ หนังฟอก 274.7 3.5 12.9 162.2 2.3 5.3 22.32 91.7 -33.8 การนำเข้า อัญมณี/เครื่องหนังของไทยจากอินเดีย หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐฯ

  33. ความคืบหน้าของ FTA ภายใต้กรอบอื่นๆ • ไทย-ญี่ปุ่น - การเจรจาได้ข้อยุติในประเด็นสำคัญที่ไม่สามารถตกลงกันได้ คาดว่าจะลงนามเดือนเมษายน 2549 และมีผลบังคับใช้ ปลายปี 2549 • ไทย-สหรัฐฯ - การเจรจาครอบคลุม 21 สาขา มีเป้าหมายให้เสร็จในปี 2548 โดยล่าสุดมีการเจรจาครั้งที่ 4 ที่สหรัฐฯ เป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูลและหลักการในภาพกว้าง

  34. ความคืบหน้าของ FTA ภายใต้กรอบอื่นๆ • ไทย-เปรู - การเจรจาสามารถตกลงกันได้ในเรื่องสินค้าที่ลดภาษี เหลือประเด็นสินค้าอ่อนไหว กำหนดจะเจรจาครั้งที่ 6 วันที่ 16-18 สิงหาคม 2548 ที่เปรู • ไทย-บาห์เรน - เมื่อปลายปี 2547 บาห์เรนแจ้งว่ามีปัญหาในการดำเนินการภายในที่จะลดภาษีสินค้าเร่งลดภาษี(Early Harvest) จึงขอเปลี่ยนรูปแบบการเจรจาให้ครอบคลุมทุกรายการสินค้ารวมอยู่ในความตกลงฉบับเดียวกัน

  35. ความคืบหน้าของ FTA ภายใต้กรอบอื่นๆ • ไทย-BIMSTEC - การเจรจาอยู่ในระหว่างการพิจารณาร่างความตกลง การค้าสินค้า/รูปแบบการลดภาษี ซึ่งการเจรจาค่อนข้าง มีความคืบหน้า แต่การเจรจาประกอบด้วยหลายประเทศ จึงต้องใช้เวลา คาดว่าคณะเจรจาพยายามจะให้ได้ข้อยุติ ในสิ้นปี 2548 • ไทย-EFTA - มีการเจรจาแล้ว 2 ครั้ง โดยเป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูล และหยั่งท่าทีการเจรจา จะประชุมครั้งต่อไป เดือนตุลาคม 2548 ที่ภูเก็ต

  36. ข้อมูลเพิ่มเติม www.dtn.moc.go.th www.thaifta.com FTA Unit โทร. 0 2507 7444 0 2507 7555 0 2507 7680 0 2507 7687

More Related