1.37k likes | 3.56k Views
พระราชบัญญัติอาหาร. สำหรับ. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กฎหมายเกี่ยวกับอาหารของประเทศไทย. พระราชบัญญัติหางน้ำนม พ.ศ. 2470 พระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหาร พ.ศ. 2484 พระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหาร (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2502 พระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหาร พ.ศ. 2507
E N D
พระราชบัญญัติอาหาร สำหรับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กฎหมายเกี่ยวกับอาหารของประเทศไทยกฎหมายเกี่ยวกับอาหารของประเทศไทย พระราชบัญญัติหางน้ำนม พ.ศ.2470พระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหาร พ.ศ.2484 พระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหาร (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2502 พระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหาร พ.ศ.2507 ประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 49 ลงวันที่ 18 มกราคม พ.ศ.2515 พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 (มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ วันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ.2522)
คำนิยาม • อาหารหมายความว่า ของกินหรือเครื่องค้ำจุนชีวิต ได้แก่ (1) วัตถุทุกชนิดที่คนกิน ดื่ม อม หรือนำเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าด้วยวิธีใดๆหรือในรูปลักษณะใดๆ แต่ไม่รวมถึงยา วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท หรือยาเสพติดให้โทษตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น แล้วแต่กรณี (2) วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ หรือใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตอาหารรวมถึงวัตถุเจือปนอาหาร สี และเครื่องปรุงแต่งกลิ่นรส
(ต่อ) คำนิยาม • อาหารควบคุมเฉพาะ: อาหารที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษาให้เป็นอาหารที่อยู่ในความควบคุมคุณภาพหรือมาตรฐาน • ตำรับอาหาร : รายการของวัตถุที่ใช้เป็นส่วนประกอบอาหารซึ่งระบุน้ำหนักหรือปริมาณของแต่ละรายการ • ภาชนะบรรจุ: วัตถุที่ใช้บรรจุอาหารไม่ว่าด้วยการใส่หรือห่อหรือด้วยวิธีใดๆ • ฉลาก: รูป รอยประดิษฐ์ เครื่องหมาย หรือข้อความใดๆที่แสดงไว้ที่อาหาร ภาชนะบรรจุอาหาร หรือหีบห่อของภาชนะที่บรรจุอาหาร
คำนิยาม (ต่อ) • ผลิต :ทำ ผสม ปรุงแต่งและหมายความรวมถึงแบ่งบรรจุด้วย • จำหน่าย: ขาย จ่าย แจก หรือแลกเปลี่ยน ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ในทางการค้า หรือการมีไว้เพื่อจำหน่ายด้วย • นำเข้า : นำหรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักร • ส่งออก: นำหรือส่งออกนอกราชอาณาจักร • โรงงาน: โรงงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงานที่ตั้งขึ้นเพื่อผลิตอาหาร
(ต่อ) คำนิยาม • ผู้รับอนุญาต: ผู้ได้รับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ ในกรณีที่นิติบุคคลเป็นผู้รับอนุญาต ให้หมายความรวมถึงผู้ซึ่งนิติบุคคลแต่งตั้งให้เป็นผู้ดำเนินกิจการด้วย • ผู้อนุญาต: เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา หรือผู้ซึ่ง เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยามอบหมาย • คณะกรรมการ: คณะกรรมการอาหาร • พนักงานเจ้าหน้าที่: ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ • รัฐมนตรี :รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
อาหารตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 แบ่งเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่ม 1 อาหารควบคุมเฉพาะ กลุ่ม 2 อาหารที่กำหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน กลุ่ม 3 อาหารที่ต้องมีฉลาก (ต้องยื่นคำขอใช้ฉลากอาหาร) กลุ่ม 4 อาหารทั่วไป (อาหารนอกเหนือจากกลุ่มที่ 1,2,3)
กลุ่ม 1 อาหารควบคุมเฉพาะ 1. นมดัดแปลงสำหรับทารก และ นมดัดแปลงสูตร ต่อเนื่องสำหรับทารกและเด็กเล็ก2. อาหารทารกและอาหารสูตรต่อเนื่องสำหรับทารก และเด็กเล็ก3.อาหารเสริมสำหรับทารก และ เด็กเล็ก 4. โซเดียมซัยคลาเมตและ อาหาร ที่มีโซเดียม ซัยคลาเมต
กลุ่ม 1 อาหารควบคุมเฉพาะ (ต่อ) 5. วัตถุเจือปนอาหาร6.อาหารสำหรับผู้ที่ต้องการควบคุมน้ำหนัก7.สตีวิโอไซด์และอาหารที่มีส่วนผสมของสตีวิโอไซด์8.เครื่องดื่มในภาชนะบรรจุ ที่ปิดสนิท9.อาหารในภาชนะบรรจุ ที่ปิดสนิท
กลุ่ม 1 อาหารควบคุมเฉพาะ (ต่อ) 10.นมปรุงแต่ง 11.นมเปรี้ยว 12.นมโค 13.ผลิตภัณฑ์ของนม 14.ไอศกรีม
กลุ่ม 2 อาหารที่กำหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน
กลุ่ม 2 อาหารที่กำหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน (ต่อ)
28. แยมเยลลีมาร์มาเลดในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท 29. ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร 30. อาหารกึ่งสำเร็จรูป รอยัลเยลลีและผลิตภัณฑ์รอยัลเยลลี 31. กลุ่ม 2 อาหารที่กำหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน (ต่อ)
กลุ่ม 3 อาหารที่ต้องมีฉลาก เป็นอาหารที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดให้ต้องส่งมอบฉลาก ต้องยื่นคำขอใช้ฉลากอาหาร (สบ.3)
กลุ่ม 3 อาหารที่ต้องมีฉลาก (ต่อ)
กลุ่ม 3 อาหารที่ต้องมีฉลาก (ต่อ)
กลุ่ม 4 อาหารทั่วไป คือ อาหารนอกเหนือจากกลุ่มที่ 1,2,3 เช่น แป้งมันสำปะหลัง แป้งสาลี ข้าวสาร เห็ดหอมแห้ง เป็นต้น
รายละเอียดข้อมูลที่แสดงบนเลขสารบบอาหารรายละเอียดข้อมูลที่แสดงบนเลขสารบบอาหาร เลขสารบบอาหาร ประกอบด้วยตัวเลข 13 หลัก แสดงถึงข้อมูลสำคัญ 2 ชุด ได้แก่- ชุดข้อมูลชุดแรก (X) คือข้อมูลสถานที่ประกอบการ ประกอบด้วยตัวเลข 8 หลักแรก- ชุดข้อมูลชุดหลัง (Y) คือข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ ประกอบด้วยตัวเลข 5 หลักหลัง แผนภูมิแสดงรายละเอียดข้อมูลแสดงบนเลขสารบบอาหาร เลขสารบบอาหารมีข้อมูลอะไรบ้าง XX - X - XXXXX - Y - YYYY แสดงถึงจังหวัดที่ตั้งของสถานที่ประกอบการนั้น ๆใช้รหัสตัวเลข 2 หลักแทนอักษรย่อ เช่น 12 แทนจังหวัดนนทบุรี (ดูตารางแสดงรหัสจังหวัดประกอบ) 1
รายละเอียดข้อมูลที่แสดงบนเลขสารบบอาหารรายละเอียดข้อมูลที่แสดงบนเลขสารบบอาหาร แสดงถึง สถานะของสถานที่ประกอบการและหน่วยงานที่อนุญาตสถานที่นั้น ๆใช้รหัสตัวเลข 1 หลัก : 1. หมายถึง สถานที่ผลิต 2. หมายถึง สถานที่ผลิต 3. หมายถึง สถานที่นำเข้า 4. หมายถึง สถานที่นำเข้า 2 อนุญาตโดย อ.ย. (เลขคี่) อนุญาตโดย จังหวัด (เลขคู่) XX - X - XXXXX - Y - YYYY แสดงถึง 3 เลขประจำสถานที่ ได้จากเลขที่ใบอนุญาตผลิตอาหารหรือเลขที่ใบอนุญาตนำหรือสั่งอาหาร หรือเลขที่ประจำสถานที่ผลิตที่ไม่ เข้าข่ายเป็นโรงงาน (แล้วแต่กรณี) ที่ได้รับอนุญาตแล้ว ใช้รหัสตัวเลข 5 หลัก โดย 2 หลักหลังเป็นเลขท้ายของปี พ.ศ. ที่อนุญาตสถานที่ดังกล่าว
รายละเอียดข้อมูลที่แสดงบนเลขสารบบอาหารรายละเอียดข้อมูลที่แสดงบนเลขสารบบอาหาร แสดงถึงหน่วยงานที่อนุญาตผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ซึ่งอาจจะเหมือนหรือแตกต่างจากหน่วยงานที่อนุญาตสถานที่ก็ได้ ใช้รหัสตัวเลข 1 หลัก1. หมายถึง ผลิตภัณฑ์นั้นอนุญาต โดย อ.ย.2. หมายถึง ผลิตภัณฑ์นั้นอนุญาต โดย จว. (รวม กทม.) 4 XX - X - XXXXX - Y - YYYY แสดงถึง 5 เลขลำดับที่ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวของสถานที่นั้น ๆ ที่ผ่านการอนุญาตจากหน่วยงานที่ประเมินผลิตภัณฑ์ข้างหน้า ( ตาม 4 ) เรียงตามลำดับจากน้อยไปหามาก- ใช้รหัสตัวเลข 4 หลัก เช่น ลำดับที่ 1 ใช้ 0001 , ลำดับที่ 99 ใช้ 0099
ข้อมูลสถานที่ เลขประจำสถานที่ XX -X -XXXXX สถานะของสถานที่ประกอบการและหน่วยงานที่อนุญาตสถานที่ประกอบการ 1 หมายถึงสถานที่ผลิตอนุญาตโดย อย. 3 หมายถึงสถานที่นำเข้า อนุญาต อย. 2 หมายถึงสถานที่ผลิต อนุญาตโดย จังหวัด 4 หมายถึงสถานที่นำเข้า อนุญาตโดย จังหวัด รหัสจังหวัดที่ตั้งของสถานที่ประกอบการ
เลข ชื่อจังหวัด เลข ชื่อจังหวัด 20 ชลบุรี 10 กรุงเทพมหานคร 21 ระยอง 11 สมุทรปราการ 22 จันทบุรี 12 นนทบุรี 23 ตราด 13 ปทุมธานี 24 ฉะเชิงเทรา 14 พระนครศรีอยุธยา 25 ปราจีนบุรี 15 อ่างทอง 26 นครนายก 16 ลพบุรี 27 สระแก้ว 17 สิงบุรี 30 นครราชสีมา 18 ชัยนาท 31 บุรีรัมย์ 19 สระบุรี ตารางแสดงรหัสจังหวัด
เลข ชื่อจังหวัด เลข ชื่อจังหวัด 32 สุรินทร์ 43 หนองคาย 33 ศรีสะเกษ 44 มหาสารคาม 34 อุบลราชธานี 45 ร้อยเอ็ด 35 ยโสธร 46 กาฬสินธุ์ 36 ชัยภูมิ 47 สกลนคร 37 อำนาจเจริญ 48 นครพนม 39 หนองบัวลำภู 49 มุกดาหาร 40 ขอนแก่น 50 เชียงใหม่ 41 อุดรธานี 51 ลำพูน 42 เลย 52 ลำปาง ตารางแสดงรหัสจังหวัด
เลข ชื่อจังหวัด เลข ชื่อจังหวัด 53 อุดรดิตถ์ 64 สุโขทัย 54 แพร่ 65 พิษณุโลก 55 น่าน 67 เพชรบูรณ์ 56 พะเยา 70 ราชบุรี 57 เชียงราย 71 กาญจนบุรี 58 แม่ฮ่องสอน 72 สุพรรณบุรี 60 นครสวรรค์ 73 นครปฐม 61 อุทัยธานี 74 สมุทรสาคร 62 กำแพงเพชร 75 สมุทรสงคราม 63 ตาก 76 เพชรบุรี ตารางแสดงรหัสจังหวัด
เลข ชื่อจังหวัด เลข ชื่อจังหวัด 77 ประจวบคีรีขันธ์ 90 สงขลา 80 นครศรีธรรมราช 91 สตูล 81 กระบี่ 92 ตรัง 82 พังงา 93 พัทลุง 83 ภูเก็ต 94 ปัตตานี 84 สุราษฎร์ธานี 95 ยะลา 85 ระนอง 96 นราธิวาส 86 ชุมพร ตารางแสดงรหัสจังหวัด หมายเหตุ : ตัวเลขที่ใช้แทนชื่อจังหวัดนี้เป็นของกระทรวงมหาดไทย
ข้อมูลผลิตภัณฑ์ เลขลำดับที่ผลิตภัณฑ์ของสถานที่ประกอบการที่ผ่านการอนุญาต Y-YYYY หน่วยงานที่อนุญาตผลิตภัณฑ์ 1 หมายถึงผลิตภัณฑ์อนุญาตโดย อย. 2 หมายถึงผลิตภัณฑ์อนุญาตโดย จังหวัด
ฉลาก ข้อความ รูป รูปภาพ รอยประดิษฐ์ เครื่องหมายหรือ เครื่องหมายการค้า ไม่ว่าจะเป็นภาษาใดที่ปรากฏในฉลาก ต้องไม่เป็นเท็จหรือหลอกลวงให้เกิดความหลงเชื่อโดยไม่สมควร หรือไม่ทำให้เข้าใจผิดในสาระสำคัญ ฉลากต้องมีข้อความครบถ้วนตามประกาศฯ เรื่อง ฉลาก กำหนด ได้แก่ ชื่ออาหาร ปริมาณสุทธิ การแสดงข้อความ ผลิต/หมดอายุ/ ควรบริโภคก่อน ชื่อ-ที่ตั้งสถานที่ผลิต/นำเข้า สูตรส่วนประกอบ เลขสารบบอาหาร วิธีการเก็บรักษา วิธีการรับประทาน คำเตือน
คำแนะนำในการเก็บรักษาคำแนะนำในการเก็บรักษา ชื่ออาหาร วิธีรับประทาน คำเตือน ปริมาณสุทธิ เครื่องหมาย “อย” ฉลาก แต่งกลิ่น(รส) ใช้วัตถุกันเสีย ควรบริโภคก่อน อื่นๆ หมดอายุ ผลิต ชื่อ-ที่ตั้งของผู้ผลิต หรือ ผู้นำเข้าและประเทศผู้ผลิต ใช้วัตถุปรุงแต่งอาหาร เจือสี ส่วนประกอบ
ฉลากโภชนาการ อาหารที่ต้องแสดงฉลากโภชนาการ 1. อาหารที่มีการกล่าวอ้างทางโภชนาการ 2. อาหารที่มีการใช้คุณค่าในการส่งเสริมการขาย 3. อาหารที่มีการระบุกลุ่มผู้บริโภคในการส่งเสริมการขาย 4. อาหารอื่นตามที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาประกาศ กำหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการอาหาร
การแสดงฉลากและฉลากโภชนาการการแสดงฉลากและฉลากโภชนาการ ฉลากต้องมีข้อความครบถ้วนตามประกาศฯ ว่าด้วยเรื่อง ฉลาก การให้ข้อมูลและความรู้ด้านคุณค่าทางโภชนาการของ อาหารเป็นส่วนหนึ่งของการแสดงฉลาก ซึ่งเป็นการ เพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ ฉลากโภชนาการมิใช่เป็นการบังคับว่าต้องมีฉลากโภชนาการ เว้นแต่จะ มีการใช้คุณค่าในการส่งเสริมการขายต้องแสดง ฉลากโภชนาการด้วย
เกณฑ์การพิจารณา ชื่ออาหาร การแสดงข้อความและรูปภาพที่ฉลาก คำเตือน การแสดงข้อความผลิต/หมดอายุ/ควรบริโภคก่อน
1. ชื่ออาหาร 1.1 ชื่อเฉพาะของอาหาร ชื่อสามัญ ชื่อที่แสดงประเภทหรือชนิดของอาหารหรือชื่อที่ใช้เรียกอาหารตามปกติ เช่น มันฝรั่งทอดกรอบ , น้ำหวานเข้มข้นกลิ่นสละ 1.2 ชื่อทางการค้า การใช้ชื่อนี้จะต้องมีข้อความแสดงประเภทหรือชนิดของ อาหารที่กำกับชื่อด้วย เช่น บูบู (กาแฟแท้), บิ๊กดิ๊บ (ไอศกรีมนม) ชื่ออาหารภาษาต่างประเทศและชื่ออาหารภาษาไทยต้องมีความหมาย สอดคล้องกัน เช่น ลูกเกดสีเหลือง Golden raisin ชื่ออาหารต้องเป็นไปตามที่ประกาศฯกำหนด เช่น การแสดงชื่ออาหาร ของเครื่องดื่มที่มีหรือที่ทำจากผลไม้ พืชหรือผัก, เครื่องดื่มที่ทำจากกลิ่น หรือรสผลไม้, เครื่องดื่มชนิดเข้มข้น, เครื่องดื่มชนิดแห้ง,นมเปรี้ยว, นมโค, วุ้นสำเร็จรูป และ ขนมเยลลี่ กำหนดให้แสดงชื่อของวัตถุที่เป็นตัวทำให้ นุ่ม และยืดหยุ่นเป็นวุ้นเป็นคำกำกับชื่อ
2. การแสดงข้อความและรูปภาพที่ฉลาก 2.1 อนุญาตการแสดงเครื่องหมายฮาลาล จากสำนักงาน คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย, เครื่องหมาย มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.), รางวัลต่างๆที่ได้รับจากหน่วยงานของราชการ 2.2 ไม่อนุญาตให้แสดงเครื่องหมายเชลล์ชวนชิม แม้ช้อยนางรำหรือรางวัลต่างๆที่มิใช่หน่วยงานราชการจัดขึ้น
2. การแสดงข้อความและรูปภาพที่ฉลาก(ต่อ) 2.3 การแสดงว่าสถานที่ผลิตผ่านเกณฑ์การตรวจประเมินตามประกาศฯ เกี่ยวกับวิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร(GMP) ให้แสดงข้อความดังนี้ “ผ่านการตรวจประเมินสถานที่ผลิตตามหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร(GMP)” หรือ “ผ่านการตรวจประเมินสถานที่ผลิตตาม GMP กฎหมาย” หรือ “ผ่านการตรวจ GMP กฎหมาย”
การแสดงรูปภาพส่วนประกอบบนฉลากผลิตภัณฑ์การแสดงรูปภาพส่วนประกอบบนฉลากผลิตภัณฑ์
3. คำเตือนที่ประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้แสดงที่ฉลาก เช่น
4. ตารางแสดงข้อความวันเดือนปีที่ผลิต/หมดอายุ/ควรบริโภคก่อน
4. ตารางแสดงข้อความวันเดือนปีที่ผลิต/หมดอายุ/ควรบริโภคก่อน
4. ตารางแสดงข้อความวันเดือนปีที่ผลิต/หมดอายุ/ควรบริโภคก่อน
4. ตารางแสดงข้อความวันเดือนปีที่ผลิต/หมดอายุ/ควรบริโภคก่อน
4. ตารางแสดงข้อความวันเดือนปีที่ผลิต/หมดอายุ/ควรบริโภคก่อน
4. ตารางแสดงข้อความวันเดือนปีที่ผลิต/หมดอายุ/ควรบริโภคก่อน หมายเหตุ : เครื่องหมาย / หมายถึง เลือกแสดงอย่างใดอย่างหนึ่ง, เครื่องหมาย O หมายถึง ต้องแสดงร่วมกัน
Thank You For Your Attention!