1 / 31

บทบาท หน้าที่ จรรยาบรรณ และเทคนิคการประเมินของผู้ประเมินคุณภาพ

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.). บทบาท หน้าที่ จรรยาบรรณ และเทคนิคการประเมินของผู้ประเมินคุณภาพ. บทบาท หน้าที่ จรรยาบรรณ และเทคนิคการประเมินของผู้ประเมินคุณภาพ. บทบาทหน้าที่ จรรยาบรรณ เทคนิคการประเมิน การเขียนรายงาน. การประเมินคุณภาพภายใน.

duane
Download Presentation

บทบาท หน้าที่ จรรยาบรรณ และเทคนิคการประเมินของผู้ประเมินคุณภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) บทบาท หน้าที่ จรรยาบรรณ และเทคนิคการประเมินของผู้ประเมินคุณภาพ

  2. บทบาท หน้าที่ จรรยาบรรณ และเทคนิคการประเมินของผู้ประเมินคุณภาพ • บทบาทหน้าที่ • จรรยาบรรณ • เทคนิคการประเมิน • การเขียนรายงาน Internal QA

  3. การประเมินคุณภาพภายใน การประเมินคุณภาพภายใน ดำเนินงานครบ 1 ปี–เขียน SAR ระดับ หน่วยงานย่อย ประเมินตนเองระดับ หน่วยงานย่อย--- ภายใน SAR/รายงานประจำปีระดับมหาวิทยาลัย (internal+external indicator) ตรวจสอบประเมินตนเองระดับมหาวิทยาลัย ---- ภายใน เตรียมความพร้อม+เชิญผู้ประเมินระดับภายนอก–สมศ&กพร&วิชาชีพ Internal QA

  4. การประเมินคุณภาพภายในการประเมินคุณภาพภายใน • ต้องนำผลการประเมิน ไปใช้ปรับปรุงการดำเนินงาน • ได้ทันปีการศึกษาถัดไป • 2. ส่ง SAR และรายงานผลการประเมินให้ สกอ + เผยแพร่ • ภายใน 120 วัน นับจากสิ้นปีการศึกษา (เดือน กย.) • Plan - ก่อนเริ่มปีการศึกษา • Do - ดำเนินงานและเก็บข้อมูล (มิย.ปีปัจจุบัน-พค.ปีถัดไป) • Check - ประเมินผล ช่วงเดือน มิย.ปีถัดไป-สค.ปีถัดไป • Act - นำผลไปใช้ปรับปรุงและส่งรายงาน (เดือน กย.ปีถัดไป) Internal QA

  5. Job Description ของผู้ประเมินคุณภาพภายใน • 1. รับรู้และเข้าใจบริบทของสถาบัน – อ่านจากเอกสาร SAR (Organizational Profile) • 2. ศึกษาตัวบ่งชี้ของ สกอ. + ของสถาบัน • 3. พิจารณาผลการดำเนินงานและผลการประเมินตนเองของสถาบัน • 4. เปรียบเทียบและประเมินระหว่างข้อ 2 และข้อ 3 • 5. สรุปผลการดำเนินงานที่ไม่ได้เป็นไปตามเป้าหมาย โดยพิจารณาร่วมกับบริบท ของสถาบัน (ข้อ 1) • what – ประเด็นไหน • why – ทำไมถึงแตกต่าง • how to improvement Internal QA

  6. บทบาทผู้ประเมิน ๑) บทบาทผู้ประเมิน • การเตรียมการก่อนการตรวจเยี่ยม • การดำเนินการระหว่างการตรวจเยี่ยม • การดำเนินการภายหลังการตรวจเยี่ยม Internal QA

  7. สรุปการเตรียมการก่อนการตรวจเยี่ยมสรุปการเตรียมการก่อนการตรวจเยี่ยม คณะผู้ประเมิน คุณภาพภายในแต่ละคนศึกษาเอกสาร ล่วงหน้า ประธานคณะผู้ประเมิน คุณภาพภายในประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ ขอบเขตของการประเมิน แบ่งหน้าที่ให้กับ คณะผู้ประเมิน คุณภาพภายใน แจ้งตารางการตรวจเยี่ยมให้หน่วยงาน จัดทำตาราง การตรวจเยี่ยม วางแผนการตรวจเยี่ยม นัดหมายคณะ ผู้ประเมินคุณภาพภายในเพื่อเตรียมการลงพื้นที่ Internal QA

  8. การวางแผนการตรวจเยี่ยมการวางแผนการตรวจเยี่ยม • ศึกษาเอกสาร SAR เอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง • ประธานชี้แจงวัตถุประสงค์ขอบเขตของการประเมิน • แบ่งหน้าที่ให้แต่ละคนศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลโดยละเอียด • วางแผนตรวจเยี่ยมร่วมกัน • จัดทำตารางการตรวจเยี่ยมเป็นลายลักษณ์อักษร แจ้งหน่วยงานที่รับการประเมิน (อย่างน้อย ๗ วัน) • ระบุสิ่งที่ต้องการ (เอกสาร ข้อมูล) ให้หน่วยงานจัดหา • นักหมายวันเวลาเพื่อลงพื้นที่ Internal QA

  9. การวางแผนตรวจเยี่ยม (เยี่ยมชม+เก็บข้อมูล) 1. ผู้บริหารทุกระดับ, ทีมงานบริหาร 2. คณาจารย์ 3. บุคลากรสายสนับสนุน 4. คณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง 5. ภาควิชา, สาขา, สำนักงาน, กลุ่มงาน- ด้านการเรียนการสอน หน่วยงานสนับสนุน:- เลขานุการ, การเงิน, โสตทัศนูปกรณ์ 6. นักศึกษาปัจจุบัน 7. ศิษย์เก่า 8. ผู้ใช้บัณฑิตและผู้เกี่ยวข้อง/ผู้นำชุมชน 9. สถานที่เรียน, ห้องปฏิบัติการ, หอพัก, ห้องสมุด Internal QA

  10. สรุปการดำเนินการระหว่างการตรวจเยี่ยมสรุปการดำเนินการระหว่างการตรวจเยี่ยม ประธานคณะผู้ประเมินคุณภาพภายใน แนะนำคณะผู้ประเมินและกล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการประเมิน ผู้บริหารหน่วยงานบรรยายสรุปสถานภาพปัจจุบันและแนวทางพัฒนา สัมภาษณ์ผู้บริหาร สัมภาษณ์ ทีมบริหาร คณาจารย์ นักศึกษา เจ้าหน้าที่ อื่น ๆ ตรวจเยี่ยมหน่วยงานต่าง ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย ตรวจสอบเอกสารเพิ่มเติม ตรวจสอบ เอกสารในพื้นที่ โครงการสอนและสื่อ ห้องปฏิบัติการ/โรงฝึกงาน สิ่งแวดล้อม อื่น ๆ พบผู้บริหารและสรุปผลการเก็บข้อมูล/วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินผล รายงานผลการประเมินขั้นต้นด้วยวาจา Internal QA

  11. การดำเนินการระหว่างการตรวจเยี่ยมการดำเนินการระหว่างการตรวจเยี่ยม • ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจกับหน่วยงาน - ประธานคณะผู้ประเมินแนะนำทีมงาน - หน่วยงานแนะนำทีมบริหาร สรุปรายงานสภาพปัจจุบัน - แจ้งตารางการประเมิน และวิธีการประเมินให้หน่วยงานทราบ - ขอความอนุเคราะห์ สิ่งอำนวยความสะดวกจากหน่วยงาน 2. พบผู้บริหาร Internal QA

  12. การดำเนินการระหว่างการตรวจเยี่ยมการดำเนินการระหว่างการตรวจเยี่ยม 3. ตรวจสอบเอกสารเพิ่มเติม 4. เยี่ยมหน่วยงานในพื้นที่ 5. สรุปผลการประเมินในแต่ละวัน 6. พบผู้บริหารเพื่อเสนอความคิดเห็น 7. รายงานผลขั้นต้นอย่างไม่เป็นทางการ - ขอขอบคุณที่ให้ความร่วมมืออนุเคราะห์ระหว่างประเมิน - ย้ำถึงวัตถุประสงค์ของการประเมิน - นำเสนอผลการประเมินแต่ละองค์ประกอบ - ประธานคณะผู้ประเมินสรุปผลในภาพรวม Internal QA

  13. สรุปขั้นตอนการดำเนินการหลังการตรวจเยี่ยมหน่วยงานสรุปขั้นตอนการดำเนินการหลังการตรวจเยี่ยมหน่วยงาน คณะผู้ประเมินคุณภาพภายในวิเคราะห์และสรุปการประเมินโดยพิจารณาแต่ละองค์ประกอบ วิเคราะห์จุดแข็ง จุดที่ควรปรับปรุงและให้ข้อเสนอแนะ จัดทำรายงานผลการประเมินฉบับสมบูรณ์และส่งให้หน่วยงานรับทราบ แจ้งหัวหน้าหน่วยงานที่รับการประเมินและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานนำไปปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เสนอต่ออธิการบดี

  14. วิเคราะห์และสรุปผลการประเมิน เพื่อเขียนรายงาน • - วิเคราะห์ระบบและกลไกการดำเนินงาน • - แนวทางปฏิบัติสอดคล้องกับปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ • แผนงานของหน่วยงาน • - วิเคราะห์ผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ที่ละตัวบ่งชี้ให้เป็นไปตาม • เกณฑ์ และได้มาตรฐาน ผลการประเมินต้องเห็นร่วมกัน • วิเคราะห์จุดแข็ง จุดที่ควรปรับปรุง/พัฒนา • ให้คำแนะนำในการปรับปรุงแก่หน่วยงาน • กำกับการจัดทำและส่งรายงานผลการประเมิน • ให้ผู้เกี่ยวข้อง

  15. การเขียนรายงานการประเมินคุณภาพภายใน • จัดทำรายงานผลการประเมินตาม CHEQA Online รูปแบบที่กำหนด • บทสรุปผู้บริหาร • รายนามคณะกรรมการประเมิน • บทนำ : สรุปข้อมูลพื้นฐานของสถาบัน • วิธีประเมิน • 4.1 การวางแผนและการประเมิน • - การเตรียมการและวางแผนก่อนตรวจเยี่ยม • - การดำเนินการระหว่างตรวจเยี่ยม (ศึกษาเอกสาร/เยี่ยมชมสภาพจริง/สัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • 4.2 วิธีการตรวจสอบความถูกต้องน่าเชื่อถือของข้อมูล • 5. ผลการประเมิน • 6. วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม Internal QA

  16. การเขียนรายงานการประเมินคุณภาพภายในการเขียนรายงานการประเมินคุณภาพภายใน ส่งรายงานการประเมินคุณภาพภายใน ให้กับผู้เกี่ยวข้องทราบ

  17. หน้าที่ของประธานคณะผู้ประเมินคุณภาพภายในหน้าที่ของประธานคณะผู้ประเมินคุณภาพภายใน 1. ศึกษาเอกสารรายงานการประเมินตนเองและเอกสารอื่นที่ เกี่ยวข้อง 2. จัดทำกำหนดการตรวจเยี่ยมหน่วยงานร่วมกับคณะผู้ประเมิน คุณภาพโดยการปรึกษาหารือกับผู้บริหารหน่วยงาน 3. กำกับดูแลการตรวจเยี่ยมหน่วยงานให้เป็นไปตามแผนที่กำหนด 4. ประสานงานการประเมินให้สอดคล้องกัน ไม่ซ้ำซ้อน 5. สรุปผลการประเมินเป็นระยะๆ ร่วมกับคณะผู้ประเมิน

  18. หน้าที่ของประธานคณะผู้ประเมินคุณภาพภายในหน้าที่ของประธานคณะผู้ประเมินคุณภาพภายใน 6. เป็นประธานพิจารณาผลการประเมินรวบยอด 7. แจ้งผลการประเมินที่ไม่เป็นทางการด้วยวาจาแก่หน่วยงาน 8. ให้คำแนะนำในการปรับปรุงแก้ไขแก่หน่วยงาน 9. กำกับการจัดทำและส่งรายงานผลการประเมินให้ผู้เกี่ยวข้อง 10. ร่วมรับผิดชอบผลการประเมินและรายงานการประเมิน

  19. หน้าที่ของคณะผู้ประเมินหน้าที่ของคณะผู้ประเมิน • ศึกษา SAR และเอกสารอื่นๆที่เกี่ยวข้อง • จัดทำกำหนดการตรวจเยี่ยมร่วมกับประธานคณะผู้ประเมิน • ตรวจเยี่ยมให้เป็นไปตามแผนการตรวจ • สรุปผลการประเมินเป็นระยะ • ให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อประธานคณะผู้ประเมิน • ร่วมพิจารณาผลการประเมินรวบยอด • ร่วมรับผิดชอบผลการประเมินและรายงานผลการประเมิน Internal QA

  20. หน้าที่ของเลขานุการคณะผู้ประเมินหน้าที่ของเลขานุการคณะผู้ประเมิน • ติดต่อ ประสานงานการประเมินกับหน่วยงาน • รับผิดชอบงานเลขานุการของคณะผู้ปะเมิน • ติดตามการจัดทำรายงานผลการประเมินให้เสร็จตามกำหนดเวลา Internal QA

  21. จรรยาบรรณผู้ประเมินคุณภาพจรรยาบรรณผู้ประเมินคุณภาพ Internal QA

  22. เทคนิคและวิธีการประเมินคุณภาพภายในเทคนิคและวิธีการประเมินคุณภาพภายใน • การเตรียมความพร้อมของ ผู้ประเมิน • ความรู้ • ทักษะ • จรรยาบรรณ Internal QA

  23. เทคนิคการประเมิน 1. ทักษะ/ศิลปะในการอ่าน 2. ทักษะ/ศิลปะในการสัมภาษณ์และตั้งคำถาม 3. ทักษะ/ศิลปะในการฟัง 4. ทักษะ/ศิลปะในการสังเกต 5. ทักษะ/ศิลปะในการบันทึก Internal QA

  24. เทคนิคการประเมิน อ่าน ให้... ได้ใจความมอง(ดู) ให้... เห็นฟัง ให้... ได้ยินสัมภาษณ์ ให้... ได้คำตอบ Internal QA

  25. เทคนิคการอ่าน SAR • Scan SAR ทั้งเล่ม และ Common data set • จับประเด็นในภาพรวม - ระบบ, กลไก บันทึกประเด็นที่ไม่ชัดเจนเพื่อหาหลักฐานยืนยัน • Indicator – อ่านรายละเอียดตามนิยามและเกณฑ์ตัดสิน • Evidence – ข้อมูลหลักฐานที่เป็นจริง • Interpretation • Summary อ่านเอาเรื่องและอ่านเอาความ - ห้ามอ่านแบบหาเรื่อง Internal QA

  26. การสัมภาษณ์ที่ดี • จะต้องเป็นการกระตุ้นให้ผู้ถูกสัมภาษณ์รู้สึกกระตือรือล้นที่จะพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องด้วยตนเอง • มีการชี้แจงเป้าหมายการเข้าสัมภาษณ์ • เตรียมคำถามไว้ล่วงหน้า • เป็นกัลยาณมิตรให้กำลังใจ สุภาพ อ่อนโยน • รับฟังความเห็นของผู้อื่น • ไวต่อการแสดงออกของผู้ถูกสัมภาษณ์ Internal QA

  27. การวางแผนสัมภาษณ์ • Right person • Right time • Right Question Internal QA

  28. ผู้ประเมินที่ดี ที่เก่ง ควรเป็นผู้ที่สามารถวิเคราะห์ในเชิงระบบได้ว่า - คุณภาพของสถาบัน ระดับไหน ? - ปัญหาหลักของสถาบัน คืออะไร ? - สถาบันต้องเร่งพัฒนาในประเด็นไหนบ้าง ? Internal QA

  29. คุณลักษณะของผู้ตรวจประเมินที่ดีคุณลักษณะของผู้ตรวจประเมินที่ดี

  30. สิ่งที่ผู้ประเมินพึงคำนึงสิ่งที่ผู้ประเมินพึงคำนึง 1. ไม่มีผู้ใดชอบการถูกประเมิน 2. ไม่มีผู้ใดต้องการให้ข้อบกพร่องถูกตรวจพบ 3. การตอบไม่ตรงคำถาม 4. การไม่เข้าใจคำถาม 5. ตื่นเต้นเกินไป จนค้นหาเอกสารที่ต้องการไม่พบหรือ อาจแกล้งหาเอกสารไม่พบ เพื่อทำลายเวลาผู้ประเมิน 6. ตอบในสิ่งที่ตนเองไม่ได้ทำ Internal QA

  31. ขอขอบคุณและคำถาม

More Related