200 likes | 1.52k Views
สมุทัย : ธรรมที่ควรละ. สาเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ คือ กามตัณหา ภวตัณหา และวิภวตัณหา * ธรรมที่ช่วยให้เข้าใจเรื่อง สมุทัย มีดังนี้. 1. นิยาม 5. 7.1 นิยาม หมายถึง ความเป็นไปอันมีระเบียบแน่นอนของธรรมชาติ หรือสรรพสิ่งทั้งปวงดำเนินไปตามกฎเกณท์ทางธรรมชาติของมัน 7.2 ประเภท มี 5 ประการ
E N D
สมุทัย: ธรรมที่ควรละ สาเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ คือ กามตัณหา ภวตัณหา และวิภวตัณหา * ธรรมที่ช่วยให้เข้าใจเรื่อง สมุทัย มีดังนี้
1. นิยาม 5 7.1 นิยาม หมายถึง ความเป็นไปอันมีระเบียบแน่นอนของธรรมชาติ หรือสรรพสิ่งทั้งปวงดำเนินไปตามกฎเกณท์ทางธรรมชาติของมัน 7.2 ประเภท มี 5 ประการ 1) อุตุนิยาม - กฎธรรมชาติเกี่ยวกับลมฟ้าอากาศ 2) พีชนิยาม - กฎธรรมชาติเกี่ยวกับการสืบพันธุ์ 3) จิตนิยาม - กฎธรรมชาติเกี่ยวกับการทำงานของจิต 4) กรรมนิยาม - กฎธรรมชาติเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์และผลของการกระทำ 5) ธรรมนิยาม - กฎธรรมชาติเกี่ยวกับความเป็นเหตุเป็นผลกันของสรรพสิ่ง 7.3 ความสำคัญ เป็นธรรมที่แสดงให้เห็นว่าทุกสรรพสิ่งย่อมเกิดจากเหตุหรือมีสาเหตุทำให้เกิดขึ้น
2. ปฏิจจสมุปบาท สิ่งทั้งหลายทั้งปวงต้องอาศัยซึ่งกันและกันจึงจะเกิดมีขึ้นได้
วงจรชีวิต • เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย สังขารจึงมี • เพราะสังขารเป็นปัจจัย วิญญาณจึงมี • เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย นามรูปจึงมี • เพราะนามรูปเป็นปัจจัย สฬายตนะจึงมี • เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย ผัสสะจึงมี • เพราะผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาจึงมี • เพราะเวทนาเป็นปัจจัย ตัณหาจึงมี • เพราะตัณหาเป็นปัจจัย อุปทานจึงมี • เพราะอุปทานเป็นปัจจัย ภพจึงมี • เพราะภพเป็นปัจจัย ชาติจึงมี • เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะจึงมี • ความโศกความคร่ำครวญทุกข์โทมนัส และความคับแค้นใจ ก็มีพร้อม • ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งปวงนี้ จึงมี
อิทัปปัจจยตา ธรรมนิยาม ปัจจยาการ • ปฏิจจสมุปบาท นี้ มีชื่อเรียกอย่างอื่นอีก ที่สำคัญคือ • อิทัปปัจจยตา (ภาวะที่มีอันนี้ๆเป็นปัจจัย) • ธรรมนิยาม (ความเป็นไปอันแน่นอนแห่งธรรมดา กฎธรรมชาติ) • ปัจจยาการ (อาการที่สิ่งทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่กัน)
3. นิวรณ์ 5 สิ่งที่ปิดกั้นจิตมนุษย์ไม่ให้บรรลุถึงความดี ความสำเร็จ • กามฉันท์ ความใคร่ในกาม • พยาบาท อาฆาตผูกใจเจ็บ • ถีนมิทธะ สภาพที่หดหู่ • อุทธัจจกุกกุจจะ ความคิดฟุ้งซ่านและความรำคาญ • วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัย ไม่แน่ใจ
4. อุปาทาน 4 • ความยึดมั่นถือมั่นในกาม (กามุปาทาน) รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส • ยึดมั่นในทฤษฎี (ทิฏฐุปาทาน) ความคิดเห็น หลักการ คำสอน หรือลัทธิที่ตนเชื่อถือว่าดีกว่าของผู้อื่น • สีลและพรต (สีลัพพตุปาทาน) เชื่อว่าเป็นสิ่งศักดิสิทธิ์งมงายไร้เหตุผล • ยึดมั่นในตัวตน* ( อุตตวาทุปาทาน) ยึดว่าสิ่งนั้นเป็นของเรา เราเป็นเจ้าของ * สำคัญสุดทำให้เกิดใน 3 ข้อ ข้างต้น