370 likes | 526 Views
หลักเกณฑ์ ของวิธีวิเคราะห์ตรวจสอบโครงการวิจัยของส่วนราชการและ รัฐวิสาหกิจ ที่เสนอขอ งบประมาณประจำปี กรกฎาคม 2542. หัวข้อ. วัตถุประสงค์ ผู้ที่จะได้รับประโยชน์ ปัจจัยการวิจัย บทบาท นักวิจัย ทิศทางการวิจัย
E N D
หลักเกณฑ์ ของวิธีวิเคราะห์ตรวจสอบโครงการวิจัยของส่วนราชการและ รัฐวิสาหกิจ ที่เสนอขอ งบประมาณประจำปี กรกฎาคม 2542
หัวข้อ • วัตถุประสงค์ • ผู้ที่จะได้รับประโยชน์ • ปัจจัยการวิจัย • บทบาทนักวิจัย • ทิศทางการวิจัย • งานวิจัยที่ต้องทำเร่งด่วน • หลักเกณฑ์ตรวจสอบโครงการฯ
วัตถุประสงค์ • เพื่อให้การวิเคราะห์ตรวจสอบโครงการวิจัยฯ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และมีความเชื่อมั่นในการจัดสรรงบประมาณวิจัยฯ ของชาติ
ผู้ที่จะได้รับประโยชน์ผู้ที่จะได้รับประโยชน์ • สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ • สำนักงานงบประมาณ • ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจที่ทำวิจัย • ผู้เชี่ยวชาญวิเคราะห์ตรวจสอบโครงการวิจัยฯ
ปัจจัยการวิจัย • งบประมาณการวิจัย: 8,000 ล้านบาท/ปี • 1 ล้านบาท/ปี = 1 คน-ปี • นักวิจัย = 12,000 คน • ทิศทางการวิจัย
บทบาท นักวิจัย ผู้ใช้ ผู้สนับสนุน
บทบาท นักวิจัย ผู้ใช้ ผู้สนับสนุน กำหนด ทิศทาง
บทบาท นักวิจัย ผู้ใช้ ผู้สนับสนุน กำหนด ทิศทาง ค้นหา ทางเลือก
บทบาท นักวิจัย ผู้ใช้ ผู้สนับสนุน กำหนด ทิศทาง ค้นหา ทางเลือก เลือก ใช้
ทิศทางการวิจัย ศักยภาพ
ทิศทางการวิจัย พึ่งตนเอง ศักยภาพ
ทิศทางการวิจัย เพิ่มค่า พึ่งตนเอง ศักยภาพ
ทิศทางการวิจัย พอใจ เพิ่มค่า พึ่งตนเอง ศักยภาพ
งานวิจัยที่ต้องทำเร่งด่วนงานวิจัยที่ต้องทำเร่งด่วน • น้ำ • พลังงานแสงอาทิตย์ • ยา • โปรแกรมคอมพิวเตอร์ • กำลังคนด้านวิจัย
หลักเกณฑ์ของวิธีวิเคราะห์ตรวจสอบโครงการวิจัยฯหลักเกณฑ์ของวิธีวิเคราะห์ตรวจสอบโครงการวิจัยฯ • หลักเกณฑ์ร่วม • คุณค่าทางปัญญา (Intellectual merits) • ผลกระทบ (Impacts) • หลักเกณฑ์เฉพาะ • ประเภทการวิจัย • สาขาวิชาการ
คุณค่าทางปัญญา • คุณภาพขององค์ความรู้ หรือปัญญา • ความเป็นไปได้
คุณค่าทางปัญญา • วิเคราะห์ตรวจสอบจาก • ปัจจัยสำหรับการวิจัย: • - นักวิจัย • - สถานที่ • - อุปกรณ์ • -ระยะเวลา (ช่วงเวลา) • - งบประมาณ • - องค์ความรู้เดิม
คุณค่าทางปัญญา • วิเคราะห์ตรวจสอบจาก • กระบวนการวิจัย: • - ระเบียบวิธีวิจัย • - แผนการวิจัย • - ขอบเขตการวิจัย
ผลกระทบ • ผลกระทบเชิงบวกและ เชิงลบ • ปัญหาที่จะได้รับการแก้ไข
ผลกระทบ • วิเคราะห์ตรวจสอบจาก • ผลงานวิจัยที่คาดหวัง: • - ชื่อโครงการ • - วัตถุประสงค์ • - ประโยชน์ที่คาดหวัง
หลักเกณฑ์เฉพาะ: ประเภทการวิจัย • พื้นฐาน : - ตีพิมพ์เผยแพร่ • ประยุกต์: - ประโยชน์ต่อสังคม/ เศรษฐกิจ • - ตีพิมพ์เผยแพร่ • วิจัยและพัฒนา: - ผู้ใช้ • - สิทธิบัตร
หลักเกณฑ์เฉพาะ: สาขาวิชาการ • (กรณีที่มีสาระเกี่ยวข้อง) • กายภาพ / คณิตฯ • - ภัยอันตราย • - วัฒนธรรม / สิ่งแวดล้อม • การแพทย์ • - ผู้ป่วย • - วัฒนธรรม / สิ่งแวดล้อม
หลักเกณฑ์เฉพาะ: สาขาวิชาการ • (กรณีที่มีสาระเกี่ยวข้อง) • เคมี / เภสัช • -ภัยอันตราย • - วัฒนธรรม / สิ่งแวดล้อม • - ต้นทุน • เกษตร / ชีวะ • -สุขภาพ / ความเป็นอยู่ • - วัฒนธรรม / สิ่งแวดล้อม • - ต้นทุน
หลักเกณฑ์เฉพาะ: สาขาวิชาการ • (กรณีที่มีสาระเกี่ยวข้อง) • วิศวะ / อุตสาหกรรม • -ภัยอันตราย • - วัฒนธรรม / สิ่งแวดล้อม • - ต้นทุน • ปรัชญา • -ความคิดเห็นและความเป็นอยู่ ของคนไทย
หลักเกณฑ์เฉพาะ: สาขาวิชาการ • (กรณีที่มีสาระเกี่ยวข้อง) • นิติศาสตร์ • - สถานภาพของไทยในสังคมโลก • - เศรษฐกิจและสังคม • รัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ • - ส่งเสริมประชาธิปไตย
หลักเกณฑ์เฉพาะ: สาขาวิชาการ • (กรณีที่มีสาระเกี่ยวข้อง) • เศรษฐศาสตร์ • - เตือนภัยจากการเปลี่ยนแปลง • สังคม • - ความเป็นอยู่ของชุมชน • เทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ • - สิทธิเสรีภาพในการรับรู้ของปวงชน • การศึกษา • - ผู้เรียนและสถานศึกษา
คะแนนของหลักเกณฑ์ • หลักเกณฑ์ร่วม • คุณค่าทางปัญญา (70) • - นักวิจัย 20 - สถานที่ 5 • - อุปกรณ์ 5 - ระยะเวลา 5 • - งบประมาณ 5 - งานเดิม 5 • - ระเบียบวิธี 10 - แผนการวิจัย 10 • - ขอบเขต 5
คะแนนของหลักเกณฑ์ต่างๆคะแนนของหลักเกณฑ์ต่างๆ • หลักเกณฑ์ร่วม • ผลกระทบ (30) • - ชื่อโครงการ 5 • - วัตถุประสงค์ 5 • - ประโยชน์ 20
คะแนนของหลักเกณฑ์ต่างๆคะแนนของหลักเกณฑ์ต่างๆ • หลักเกณฑ์เฉพาะ • ประเภทการวิจัย ผ่าน • สาขาวิชาการ ผ่าน
การตัดสินโครงการวิจัยฯการตัดสินโครงการวิจัยฯ • คะแนนผ่านปรับ • รวม ไม่ต่ำกว่า50% ไม่ต่ำกว่า 50% • เกณฑ์ร่วม แต่ • แต่ละเกณฑ์ ไม่ต่ำกว่า 50% ต่ำกว่า 50% • เกณฑ์เฉพาะ หรือ • แต่ละเกณฑ์ ผ่าน ไม่ผ่าน • __________________________________ • *ความเห็นในแบบ ว-5
องค์กรให้ทุนวิจัยต่างประเทศ (10) • USA: NSF, EHR/NSF, NIH, DOA • Japan: STA, Monbusho • Canada: NRC, SSHRC • New Zealand: MORST, Marsden Fund • Australia: ARC/DETYA
องค์กรให้ทุนวิจัยต่างประเทศ (10) • UK: EPSRC, MRC, BBSRC • France: CNRS • Germany: DFG, DFG/NWO • Korea: MOST • Singapore: NSTB
องค์กรให้ทุนวิจัยในประเทศองค์กรให้ทุนวิจัยในประเทศ • วช., สกว., สวทช. • สพช., สวรส. • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • มหาวิทยาลัยมหิดล
หลักเกณฑ์เดิมของ วช. 41 • ความสำคัญและประโยชน์ • ความเหมาะสมและความเป็น ไปได้ • ความซ้ำซ้อนและความสัมพันธ์ • ความสอดคล้องกับแผนนโยบาย
คณะผู้จัดทำหลักเกณฑ์ฯคณะผู้จัดทำหลักเกณฑ์ฯ • ศ. ดร. มนตรี จุฬาวัฒนทล • ดร. สมาธิ์ภรณ์ เชียน • น.ส. กุลวิตรา ภังคานนท์ • นางฐิฏิกา วัชโรทัย
วิธีคิดโครงการวิจัย • ปัญหาใกล้ตัว • วิธีที่ทำอยู่เดิม • คอขวด (ต้องแก้ด้วยวิจัย?) • ความสามารถของตน • แรงจูงใจ: ท้าทาย/คุ้มค่า
คำถามหลักจากนักวิจัย • นักวิจัยใหม่? • หลักเกณฑ์ของ วช. สวทช สกว? • โครงการวิจัย หรือ แผนการวิจัย? • เเบลคลิสต์? • ตั้งงบฯล่วงหน้า 2 ปี? สำนักงบฯไม่ร่วมมือ • ฐานข้อมูล? • ผู้ประเมินไม่เชี่ยวชาญ? • ใช้เวลานาน?