1.78k likes | 3.83k Views
มะเร็งเต้านม การวินิจฉัยและการรักษา. นพ.ถาวรัฐ เรือนโรจน์รุ่ง นายแพทย์ชำนาญการ โรงพยาบาลมะเร็งลำปาง. Leading Cancers in Northern Thailand*. *Cancer Incidence in Northern Thailand 2003-2007. Female breast cancer in Northern Thailand; 2003-2007*.
E N D
มะเร็งเต้านม การวินิจฉัยและการรักษา นพ.ถาวรัฐ เรือนโรจน์รุ่ง นายแพทย์ชำนาญการ โรงพยาบาลมะเร็งลำปาง
Leading Cancers in Northern Thailand* *Cancer Incidence in Northern Thailand 2003-2007
Female breast cancer in Northern Thailand; 2003-2007* *Cancer Incidence in Northern Thailand 2003-2007
พบอุบัติการณ์สูงสุดในช่วงอายุ 50-54 ปี
มะเร็งเต้านม • ส่วนประกอบหลักของเต้านม • ต่อมสร้างน้ำนม • ท่อนำน้ำนม • เนื้อนม (เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ไขมัน เส้นเลือด ท่อน้ำเหลือง) • มะเร็งเต้านมส่วนใหญ่ มีเซลล์ต้นกำเนิดมาจากเซลล์บุท่อนำน้ำนม • ส่วนใหญ่เกิดในผู้หญิง
ปัจจัยเสี่ยงสำหรับมะเร็งเต้านมปัจจัยเสี่ยงสำหรับมะเร็งเต้านม ปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้ • เพศ • อายุ • พันธุกรรม : 5-10% ของมะเร็งเต้านมเป็นโรคแบบที่มีการถ่ายทอดทาง พันธุกรรม โดยผู้ป่วยรับยีนที่มีความผิดปกติมาจากพ่อแม่
ประวัติมะเร็งเต้านมภายในครอบครัวประวัติมะเร็งเต้านมภายในครอบครัว • ประวัติส่วนตัวเคยเป็นมะเร็งเต้านม • เชื้อชาติ • ความหนาแน่นของเนื้อเต้านม • ภาวะหรือโรคในเต้านมบางอย่าง • ระยะเวลาการมีประจำเดือน • การฉายแสงบริเวณทรวงอก
ปัจจัยเสี่ยงสำหรับมะเร็งเต้านมปัจจัยเสี่ยงสำหรับมะเร็งเต้านม ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิต • การมีบุตร ไม่มีบุตร หรือมีบุตรคนแรกหลังอายุ 30 ปี เพิ่มโอกาสเสี่ยง เล็กน้อย • การคุมกำเนิด ยาเม็ดคุมกำเนิด ผลการศึกษายังไม่ยืนยันชัดเจนว่าเพิ่มโอกาสเสี่ยง • การรักษาด้วยฮอร์โมนทดแทนในวัยหมดประจำเดือน ฮอร์โมนรวม (เอสโตรเจน และ โปรเจสเตอโรน) เพิ่มโอกาสเสี่ยงเล็กน้อย
ปัจจัยเสี่ยงสำหรับมะเร็งเต้านมปัจจัยเสี่ยงสำหรับมะเร็งเต้านม • การให้นมบุตร พบว่าลดโอกาสเสี่ยงในบางการศึกษา แต่ต้องให้นานต่อเนื่องอย่างน้อย 1.5-2 ปี • แอลกอฮอล์ • โรคอ้วน • การออกกำลังกาย เดินเร็วๆอย่างน้อย 1.25-2.5 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ลดโอกาสเสี่ยง
อาการและอาการแสดงของมะเร็งเต้านมอาการและอาการแสดงของมะเร็งเต้านม • ในรายที่เป็นระยะเริ่มแรกมักไม่มีอาการ • คลำพบก้อนในเต้านม (แข็ง ไม่เจ็บ ขอบเขตไม่ชัด) • เต้านมบวม • มีการเปลี่ยนแปลงของผิวหนัง • แดง • หนาตัวเป็นสะเก็ด • รอยบุ๋ม • เจ็บเต้านมหรือหัวนม • หัวนมบุ๋ม หรือมีของเหลวออกจากหัวนม • คลำพบก้อนบริเวณรักแร้ • อาการและอาการแสดงจากอวัยวะที่มะเร็งแพร่กระจายไป
การวินิจฉัยมะเร็งเต้านมการวินิจฉัยมะเร็งเต้านม “Triple assessment” • การซักประวัติ ตรวจเต้านมและส่วนอื่นที่เกี่ยวข้อง • การตรวจทางรังสีวิทยาของเต้านม • การตรวจทางพยาธิวิทยา
มีตุ่ม ผื่น หรือแผลที่ผิวหนัง
การตรวจทางรังสีวิทยาเพื่อช่วยวินิจฉัยโรคของเต้านมการตรวจทางรังสีวิทยาเพื่อช่วยวินิจฉัยโรคของเต้านม ภาพถ่ายเอ็กซเรย์เต้านม (Mammogram) • ช่วยในการแบ่งกลุ่มของรอยโรคในเต้านมที่ตรวจพบ • ไม่พบรอยโรค • พบรอยโรคที่ไม่น่าสงสัยว่าจะเป็นมะเร็ง • พบรอยโรคที่อาจจะเป็นมะเร็ง
Breast Imaging Reporting and Data System • BIRADS 0 : incomplete study • BIRADS 1 : Negative • BIRADS 2 : Benign finding • BIRADS 3 : Probably benign finding • BIRADS 4 : Suspicious abnormality • BIRADS 5 : Highly suggestive of malignancy • BIRADS 6 : Known biopsy proven malignancy
Abnormal microcalcification Pleomorphic Branching
อัลตราซาวน์เต้านม (Ultrasonography) • ไม่เจ็บ ไม่ต้องรับรังสี • ช่วยแยกรอยโรคที่เป็นถุงน้ำ (cyst) ออกจากก้อนได้ • มีประโยชน์ในรายที่เนื้อเต้านมมีความหนาแน่นมาก
การตรวจชิ้นเนื้อ (Biopsy) • ทำในรายที่การตรวจทางรังสีวิทยาหรือการตรวจร่างกายพบรอยโรคที่สงสัยว่าอาจจะเป็นมะเร็ง • นำตัวอย่างเซลล์หรือชิ้นเนื้อบริเวณที่สงสัยไปตรวจทางพยาธิวิทยา • โดยทั่วไปมี 3 วิธี • เจาะดูดด้วยเข็มธรรมดา (Fine needle aspiration biopsy) • เจาะตัดด้วยเข็มขนาดใหญ่ (Core needle biopsy) • ผ่าตัดนำชิ้นเนื้อไปตรวจ (Surgical biopsy) • ปรึกษาแพทย์เพื่อเลือกวิธีที่เหมาะสม
ระยะของโรคมะเร็ง พิจารณาจาก • ขนาดและลักษณะของก้อนมะเร็งที่เต้านม • การกระจายของเซลล์มะเร็งไปยังต่อมน้ำเหลืองข้างเคียง • การกระจายของเซลล์มะเร็งไปยังอวัยวะอื่น
อวัยวะที่มีการกระจายของมะเร็งเต้านมไปได้อวัยวะที่มีการกระจายของมะเร็งเต้านมไปได้
การรักษามะเร็งเต้านม การรักษาหลักประกอบไปด้วย • การผ่าตัด (Surgery) • รังสีรักษา (Radiation therapy) • เคมีบำบัด (Chemotherapy) • การรักษาด้วยยาต้านฮอร์โมน (Hormone therapy) • การรักษาแบบมุ่งเป้า (Targeted therapy)
การผ่าตัดเต้านมออกทั้งข้างพร้อมเลาะต่อมน้ำเหลืองการผ่าตัดเต้านมออกทั้งข้างพร้อมเลาะต่อมน้ำเหลือง Modified Radical Mastectomy (MRM)
ภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงของการผ่าตัดรักษามะเร็งเต้านมภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงของการผ่าตัดรักษามะเร็งเต้านม • ภาวะข้อไหล่ติด (shoulder stiffness) • ควรกระตุ้นให้ผู้ป่วยเริ่มขยับแขนตั้งแต่วันที่สองหรือสามหลังผ่าตัด • การบริหารแขนป้องกันไหล่ติด • แขนบวม (lymphedema) • สัมพันธ์กับความมากน้อยของการเลาะต่อมน้ำเหลือง • สัมพันธ์กับการฉายแสงบริเวณรักแร้
การผ่าตัดแบบสงวนเต้านม(Breast conservation surgery)
ข้อห้ามของการทำการผ่าตัดแบบสงวนเต้านมข้อห้ามของการทำการผ่าตัดแบบสงวนเต้านม • มีมะเร็งหลายก้อน (multicentricity) • Diffuse malignant microcalcification • เคยได้กับการฉายรังสีที่เต้านมข้างนั้นมาก่อน • หญิงตั้งครรภ์ 3-6 เดือน • หลังการพยายามทำ Lumpectomy แล้วยังคงได้ผล positive margin
การเสริมสร้างเต้านมขึ้นใหม่ (Breast reconstruction) • ใช้เนื้อเยื่อของผู้ป่วยเอง (Autologous reconstruction) • Transverse Rectus Abdominis Myocutaneous flap (TRAM flap) • Latissimus dorsi myocutaneous flap (LD) • Inferior and superior gluteal flap • Lateral transverse thigh flap • ใช้เต้านมเทียม (Prosthetic reconstruction)
รังสีรักษา • เป็นการรักษาเสริมหลังการผ่าตัด • ป้องกันการกลับเป็นซ้ำเฉพาะที่ • รักษาอาการจากการกระจายของโรค • มะเร็งเต้านมกระจายไปสมอง • มะเร็งเต้านมกระจายไปกระดูก
ผลแทรกซ้อนจากรังสีรักษาผลแทรกซ้อนจากรังสีรักษา ขณะกำลังรับการรักษา • อ่อนเพลีย • คลื่นไส้ อาเจียน • การเปลี่ยนแปลงของผิวหนัง • อาการกลืนเจ็บ (transient esophagitis) หลังจากครบการรักษาแล้ว • Telangiectasia • Arm edema • Radiation pneumonitis or fibrosis