1 / 19

การประมาณการต้นทุนของโครงการพัฒนาซอฟต์แวร์ Software Project Cost Estimation

การประมาณการต้นทุนของโครงการพัฒนาซอฟต์แวร์ Software Project Cost Estimation. Software Development and Management. Outline. การประมาณการต้นทุนของซอฟต์แวร์ การประมาณการขนาดของซอฟต์แวร์ เทคนิคการประมาณการต้นทุน และ effort เทคนิคการประมาณการแบบ COCOMO. การประมาณการต้นทุนของซอฟต์แวร์.

dunn
Download Presentation

การประมาณการต้นทุนของโครงการพัฒนาซอฟต์แวร์ Software Project Cost Estimation

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประมาณการต้นทุนของโครงการพัฒนาซอฟต์แวร์ Software Project Cost Estimation Software Development and Management

  2. Outline • การประมาณการต้นทุนของซอฟต์แวร์ • การประมาณการขนาดของซอฟต์แวร์ • เทคนิคการประมาณการต้นทุน และ effort • เทคนิคการประมาณการแบบ COCOMO

  3. การประมาณการต้นทุนของซอฟต์แวร์การประมาณการต้นทุนของซอฟต์แวร์ • มีความสำคัญในการประมาณการต้นทุนโครงการผลิตซอฟต์แวร์ (Software Project Cost)ซึ่งครอบคลุม • Hardware Cost • Software Cost • Maintenance Cost • Travel and Training Cost • Effort Cost

  4. ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดราคาซอฟต์แวร์ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดราคาซอฟต์แวร์ • โอกาสทางการตลาด (Market Opportunity) • ข้อกำหนดของสัญญา (Contractual Term) • ความต้องการซอฟต์แวร์ที่เปลี่ยนแปลงได้ (Requirement Volatile) • ฐานะการเงิน (Financial Health) • การประมาณการต้นทุน (Cost Estimation)

  5. การประมาณการขนาดของซอฟต์แวร์การประมาณการขนาดของซอฟต์แวร์ • Line of Code • Function Point

  6. ประสิทธิผลการทำงาน Productivity • Productivity หรือประสิทธิผลการทำงาน (ของคน) สามารถคำนวณได้จาก Productivity = Size/Effort เมื่อ size คือขนาดของ sw ที่ประมาณการอาจเป็น LOC, FP effort คือแรงงานที่ลงไป(Person-Hours, Man-Day or Man-Month)

  7. Line of Code • Simple Line Count • Physical Lines (LINES) • Physical Line of Code (หรือ sLOC: Source Line of Code) • Logical Line of Code (LLOC) • Statements (STMT)

  8. Function Point: FP • คือการนับจำนวนฟังก์ชัน • เพื่อลดปัญหาความแตกต่างของภาษาโปรแกรม • มีสูตรในการคำนวณคือ FP = UFP * VAF UFP : Unadjusted Function Point คือ FP ที่ยังไม่ปรับแต่ง VAF: Value Adjustment Factor

  9. การคำนวณค่า UFP • คำนวณตามประเภทของฟังก์ชัน(5 กลุ่ม) • Internal Logical File (ILF) • External Interface File (EIF) • External Input (EI) • External Output(EO) • External Queries (EQ) • (มีตารางรายละเอียดหน้า 267, กิตติ) • ฟังก์ชันการทำงาน (transaction) ตามแต่ละกลุ่มประเภทของข้อมูลมีความซับซ้อนและแตกต่างกันตามจำนวนข้อมูลและไฟล์ที่เกี่ยวข้อง • คำนวณแบบถ่วงน้ำหนักตามแต่ละกลุ่ม (Total weighted count) (ต.ย. 268)

  10. การคำนวณหาค่า VAF • คำนวณจาก VAF = 0.65 + (0.01 * ผลรวมค่าคุณลักษณะ 14 ด้าน) ค่า 14 ด้านนั้นจากการประเมิน (ต.ย. หน้า 269) นำค่าที่ได้ไปคำนวณหา FP = UFP * VAF *FP เป็นตัววัดขนาด (size) ของ SW เช่นเดียวกับ LOC

  11. เทคนิคการประมาณการต้นทุน และ Effort • Algorithmic Cost Modelling • Expert Judgement • Estimation by Analogy • Parkinson’s Law • Pricing to Win ทั้งหมดต่างก็เป็นเทคนิคที่อาศัยความรู้และประสบการณ์หรือข้อมูลในอดีตเป็นส่วนใหญ่ * แต่อดีตกับปัจจุบันปัจจัยแวดล้อมมันต่างกันเลยทำให้เกิดความคาดเคลื่อนสูง

  12. เทคนิคการประมาณการแบบ COCOMO • COCOMO: Constructive Cost Model • เป็นแบบประมาณการต้นทุน และ Effort

  13. COCOMO • แบ่งแบบจำลองออกเป็น 3 ชนิด เพื่อประมาณการต้นทุน Effort ในระยะต่างๆ • Application-Composition Model ระยะสรุป concept ในการดำเนินโครงการ ใช้ Object Pointแทนขนาดของ SW • Early Design Model ใช้ประมาณการในระยะก่อนออกแบบซอฟต์แวร์ แต่ต้องหลังจากกำหนดความต้องการเรียบร้อยแล้ว • Post-Architecture Model ใช้ประมาณการในระยะหลังออกแบบซอฟต์แวร์ (เป็นการประมาณอีกรอบเพื่อความถูกต้องแม่นยำของค่าประมาณ) * Object Point จำนวนอ๊อบเจ็กที่หมายถึงคอมโพเน้นท์ 3ส่วนคือ หน้าจอ (screen)รายงาน (report)และโมดูล (module) ที่เขียน

  14. Application-Composition Model • เหมาะกับการผลิตซอฟต์แวร์แบบ Component-Based Development • อยู่ในระยะสรุป concept ในการดำเนินงาน • ใช้ Object Point (OP) เป็นตัววัดขนาดซอฟต์แวร์ จำนวน OP แต่ต่างกันขึ้นกับความซับซ้อน (ตย.ตารางหน้า 273) ซึ่งจำเป็นต้องมีการปรับแต่ค่า OP Revised OP = OP * (100 - %reuse)/100

  15. Application-Composition Model • นำ Revised OP หรือ ROP ไปคำนวณหาค่า Effort MME (Man-Month Effort) = ROP/Productivity Constant Productivity Constant เป็นค่าคงที่ที่บอกถึง ประสิทธิผลของการพัฒนา หน่วยเป็น NOP (Number of OP per month) ซึ่งขึ้นกับระดับประสบการณ์และความสามารถของทีมพัฒนา (ตัวอย่างหน้า 273) MME ความพยายามที่ลงทุนไป นับเป็นจำนวนคนที่ต้องใช้ในเวลา 1 เดือนที่สามารถพัฒนาซอฟต์แวร์จนเสร็จ

  16. Early Design Model • ใช้ประมาณการ Effort ในช่วงการออกแบบ หลังได้ความต้องการเรียบร้อยแล้ว • สูตร MME = A * (Size)B MME : Effort หน่วยเป็น Man-Month A : ค่าคงที่ของประสิทธิผลในการผลิต ตามระดับความซับซ้อน B : ค่าปัจจัยผลกระทบ (5Factors) Size: ขนาดของซอฟต์แวร์ KLoC

  17. Early Design Model • การคำนวนหาค่า B : ค่าปัจจัยผลกระทบ (5Factors) เรียกปัจจัยเหล่านี้ว่า Scaling Factor, Economics Scale หรือ Cost Driver • ซึ่ง Bนี้แปรผันกับ Effort ในลักษณะ Exponential (พิจารณาจากสูตรที่ MME = A*SizeB ) • ถ้า B=1 หมายถึง Scaling Factor ไม่มีผลต่อ Effort • ถ้า B>1 หรือ B<1 มีผลต่อ Effort ให้เพิ่มขึ้นหรือลดลง B = 0.91 + 0.01(ผลรวมของคะแนนแต่ละ factor) (ต.ย. 275)

  18. Post Architecture Model • ใช้ประเมินในระยะหลังการออกแบบ (ให้ให้ค่าประเมินมีความถูกต้องมากขึ้น) • เนื่องจากยังมีปัจจัยอื่นอีกที่มีผลกระทบร่วมด้วย ได้แก่ • Product Factor • Platform Factor • Personal Factor • Project Factor เรียกปัจจัยเหล่านี้ว่า Effort Multiplier(EM)

  19. Post Architecture Model • สูตรคำนวณ MME (เพื่อปรับค่าใหม่) MME (Modified) = MME * (EM) เมื่อ EM คือผลคูณของปัจจัยที่ส่งผลให้ค่า Effort เปลี่ยนแปลง (ซึ่งมีทั้งหมด 16 ค่า แบ่งตาม 4 กลุ่มปัจจัยข้างต้น) นั่นคือเท่า EM1 * EM2 * … *EM16 ซึ่งเป็นค่าคงที่ (ที่ประมาณการมาจากข้อมูลอดีตและผู้เชียวชาญ) ดังตารางหน้า 278

More Related