330 likes | 527 Views
คดีการแข่งขันที่น่าสนใจ. ประเทศสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย เกาหลีใต้ และยุโรป. อร่ามศรี รุพันธ์ นักวิชาการพาณิชย์ 8 ว. POSCO. กรณีถูกกล่าวหาว่ามีพฤติกรรมใช้อำนาจเหนือตลาด ในตลาดผู้ผลิตเหล็กแผ่นรีดเย็น. POSCO เป็นผู้ผลิตเหล็กแผ่นรีดร้อน ชนิดม้วน เพียงรายเดียวโดยมี
E N D
คดีการแข่งขันที่น่าสนใจคดีการแข่งขันที่น่าสนใจ ประเทศสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย เกาหลีใต้ และยุโรป อร่ามศรี รุพันธ์ นักวิชาการพาณิชย์ 8 ว
POSCO กรณีถูกกล่าวหาว่ามีพฤติกรรมใช้อำนาจเหนือตลาด ในตลาดผู้ผลิตเหล็กแผ่นรีดเย็น
POSCO เป็นผู้ผลิตเหล็กแผ่นรีดร้อน ชนิดม้วน เพียงรายเดียวโดยมี ส่วนแบ่งตลาด 79.8% ที่เหลืออีก 20.2% จะนำเข้าจากต่างประเทศ ตลาดผู้ผลิต เหล็กแผ่นรีดเย็น (cold-rolled steel plate) • ส่วนแบ่งตลาด • บริษัท POSCO 58.4% • บริษัท Dongbu Steel 13.7% • บริษัท Hyundai Hysco 11.1% • บริษัท Union Steel 7.9% • นำไปผลิต • ตัวถังรถ • เครื่องใช้ในบ้าน • ตู้ขนส่งสินค้าทางเรือ ตลาดเหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วน (hot-rolled coil) ที่ใช้เป็นวัตถุดิบหลัก ในการทำเหล็กแผ่นรีดเย็น
ข้อโต้แย้งของ POSCO • ขอบเขตตลาดเป็นตลาดเหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วนที่ใช้ทำเหล็กแผ่นรีดเย็น • (cold-rolled steel plate) สำหรับทำตัวถังรถยนต์เท่านั้น • เหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วนที่ใช้ทำเหล็กแผ่นรีดเย็นสำหรับทำตัวถังรถยนต์ • จึงเป็นคนละตลาดกัน (separate market) • ลักษณะรูปร่าง • กระบวนการผลิต • POSCO ระบุว่าไม่เคยขายเหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วนที่ใช้ทำเหล็กแผ่นรีดเย็น • สำหรับทำตัวถังรถยนต์ให้แก่บริษัทใด จึงถือว่าส่วนแบ่งตลาดเป็น 0 (ศูนย์) • ดังนั้น จึงถือได้ว่าบริษัท POSCO ไม่เป็นผู้มีอำนาจเหนือตลาด
การพิจารณา ของ KFTC • การใช้ทดแทนกันด้านอุปสงค์สูงระหว่างเหล็ก • แผ่นรีดร้อนชนิดม้วนสำหรับทำชิ้นส่วนรถยนต์ • และเหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วนสำหรับใช้เพื่อ • วัตถุประสงค์อื่น • ส่วนแบ่งตลาดของบริษัท POSCO ในตลาดประเทศเท่ากับ • 79.8% เนื่องจาก เห็นว่าตลาดภูมิศาสตร์มีขอบเขตตลาด • นอกจากประเทศเกาหลี โดยรวมถึงเหล็กแผ่นรีดร้อนชนิด • ม้วนที่นำเข้าจากประเทศจีนและญี่ปุ่น คิดเป็นส่วนแบ่งตลาด • 20.2%
พื้นฐานแนวคิดที่ใช้ตัดสินคดี • ข้อ 1 : ประเด็นตามข้อกฎหมาย • - เป็นพฤติกรรม POSCO ฝ่าฝืนกฎหมาย MRFT: ปฏิเสธการจำหน่าย • - ประโยชน์ของผู้บริโภค [ consumers welfare ] • - เศรษฐกิจของประเทศ • ข้อ 2 : ผลกระทบ • - POSCO ใช้อำนาจในทางที่ผิด สร้างอุปสรรคในการเข้าสู่ตลาดแก่ Hyundai • - Hyundai Hysco ไม่มีทางเลือก ธุรกิจต้องหยุดชะงัก • - หาก Hyundai นำเข้าจากต่างประเทศ • ต้นทุนการผลิตเพิ่ม ( ค่าระวางขนส่ง , ค่าภาษีขาเข้า , ค่าขนถ่ายสินค้า • การดำเนินธุรกิจขาดเสถียรภาพเพราะขาดความมันคงในปัจจัยการผลิต
การตัดสิน ของ KFTC • การกระทำของบริษัท POSCO ฝ่าฝืนต่อ MRFTA ซึ่งตราขึ้น • - ให้ผู้บริโภคได้รับสวัสดิการสูงสุดโดยปกป้องการแข่งขัน • - พัฒนาระบบเศรษฐกิจของประเทศ • การกระทำของบริษัท POSCO เป็นการใช้อำนาจเหนือตลาด • ในตลาดต้นน้ำกีดกันให้บริษัท Hyundai Hysco ออกจาก • ตลาดปลายน้ำ • KFTC ตัดสินให้ปรับบริษัท POSCO เป็นเงิน 1,640 ล้านวอน
คดี : Akzo Chemic BV Vs คณะกรรมาธิการแห่งประชาคมยุโรป
มาตรา 86 : ห้ามผู้มีอำนาจเหนือตลาด กำจัดคู่แข่งขัน อันเป็นการ เพิ่มอำนาจของบุคคลนั้น โดยใช้วิธีการที่ไม่ใช่เป็นการ แข่งขันในเชิงคุณภาพ
Akzo ได้กระทำผิดมาตรา 86 ของสนธิสัญญา โดย Akzo ได้ก่อเกิดความเสียหายโดยเจตนา แก่บริษัท Engineeringand Chemical Supplies : ECS โดยมุ่งให้ ECS ถอนตัวออก จากตลาด Organic Peroxides ของ EEC ข้อกล่าวหา :
ผลิต Organic Peroxides ใช้ในอุตสาหกรรมพลาสติก สารฟอกขาว สำหรับแป้ง potassium Borate วิตามินรวม สำหรับแป้งอีกสองชนิด ผู้ผลิต Akzo Diaflex ข้อเท็จจริง Akzo 1) Akzo 2) ECS 3) Diaflex ผู้ผลิตสารปรุงแต่งแป้งเกือบทุกชนิด บางชนิด Akzo 85% โรงงานทำแป้ง Diaflex RHM บริษัท Spillers ลูกค้า Provincial Merchamrs ECS บริษัท Allied Mills 10% โรงงานทำแป้งอิสระ 2/3 ECS 5% ผปธ. อิสระรายเล็ก 1/3 Akzo
ก่อน ปี 1980 ECS เสนอขายสินค้า แก่ RHM 2/3D Akzo Diaflex ECS Provincial Merchant RHM โรงงาน แป้งอิสระ (10%) ผู้ประกอบการ รายใหญ่อิสระ (5%) Spiller Allied Mill โรงงานแป้งกลุ่มบริษัท ( 85 %) 1/3D
Akzo Diaflex ECS Provincial Merchant RHM Provincial Merchant โรงงาน แป้งอิสระ ผู้ประกอบการ รายใหญ่อิสระ 2.3 Spiller Allied Mill หลัง
ปัจจัยต่างๆ ที่ระบุว่า Akzo มีอำนาจ เหนือตลาด Akzo มีส่วนแบ่งตลาดในปริมาณมาก เท่ากับส่วนแบ่งตลาดของผู้ผลิตรายอื่นทั้งหมดรวมกัน Akzo ได้เปรียบด้านเงินทุน มีผลิตภัณฑ์ไว้จำหน่ายค่อนข้างจะครบวงจรยิ่งกว่าคู่แข่ง Akzo ประสบความสำเร็จในการคงไว้ซึ่ง margin โดยวิธีการเพิ่มราคาสินค้าและ/หรือเพิ่มยอดขาย แม้ในสถานการณ์ที่เศรษฐกิจจะไม่ค่อยดี กระบวนการทางการตลาดและทางธุรกิจ ที่มีความพัฒนามากกว่าคู่แข่งรายอื่นๆ มีความรู้ความชำนาญเหนือคู่แข่งในเรื่องของความปลอดภัย และเรื่องการป้องกันสารพิษ เท่าที่ผ่านมา Akzo ประสบความสำเร็จในการกำจัดคู่แข่งที่ก่อความยุ่งยากให้ Akzo และสามารถทำให้คู่แข่งเหล่านั้นอ่อนแอลงอย่างมากได้ พฤติกรรมในอดีตเมื่อ Akzo ได้ทำให้คู่แข่งซึ่งเป็นผู้ประกอบการรายย่อยหมดบทบาทลงแล้ว Akzo ก็จะขึ้นราคาในสินค้าที่เกี่ยวข้อง
พฤติกรรมที่แสดงถึงเจตนา Akzo ได้ดำเนินนโยบายกำจัดคู่แข่งที่ทำการค้ากับ RHM หรือบริษัท Spiller โดย Akzo ได้พยายามหาข้อมูลเกี่ยวกับข้อเสนอที่คู่แข่งเสนอแก่ลูกค้า Akzo ได้ใช้สาร potassium bromate เป็นเหยื่อล่อเพื่อดึงดูดลูกค้าของ ECS และ ได้ขายวิตามินรวมในราคาที่ต่ำเพื่อเป็นเหยื่อล่อลูกค้าให้เปิดเผยข้อมูล เมื่อได้ข้อมูลแล้ว Akzo ก็จะให้ข้อเสนอในราคาที่ต่ำกว่า Suppliers อื่น ๆ โดยเฉพาะในส่วนของบริษัท SpillersAkzo ได้วางเงื่อนไขว่า บริษัท Spillers จะต้องตกลงซื้อสารปรุงแต่งแป้งจาก Akzo เพียงรายเดียวเท่านั้น Akzo ได้เสนอขาย potassium bromate หรือวิตามินรวม พ่วงกับสาร benzoyl peroxide ในราคาที่ต่ำกว่าต้นทุนรวมแต่สูงกว่าต้นทุนแปรผันเฉลี่ย เพื่อทำลายธุรกิจของ ECS Akzo ได้คงระดับราคาสารปรุงแต่งไว้ในระดับที่ต่ำกว่าที่ควรจะเป็น เป็นเวลานาน
การจำหน่ายสินค้า AVC<P<ATC ของ Akzo 298 < 518 < 558
ผลการพิจารณาของศาล • การตั้งราคาต่ำเกินสมควรเพื่อดึงดูดลูกค้าของ ECS Akzo ได้เสนอราคาและจำหน่ายสารปรุงแต่งแป้งให้แก่ลูกค้า ECS ซึ่งเป็นลูกค้ารายใหญ่และเป็นลูกค้าอิสระในราคาที่ต่ำกว่าเกินควร เพื่อที่จะกำจัด ECS ออกไปจากตลาด (Ql ,Pไม่ต่างกัน) • การตั้งราคาขายโดยไม่เท่าเทียมกัน Akzo ได้ตั้งราคาขายที่แตกต่างกัน ในขณะที่ผู้ซื้อมีขนาดที่ใกล้เคียงกัน อันเนื่องจากคุณภาพหรือต้นทุนต่างกัน • การตั้งราคาชักจูงใจ เพื่อที่จะได้กำจัด ECS ออกไปจากตลาด Akzo ตั้งราคา potassium bromate ไม่สูงมากนั้นก็เป็นเพราะว่า Akzo อยากจะชักจูงใจให้ลูกค้าซื้อสารปรุงแต่งทุกชนิดที่ Akzoมีขาย รวมทั้งขายวิตามินรวมต่ำกว่าต้นทุนผันแปรเฉลี่ย • การคงราคาสินค้าไว้ในระดับที่ต่ำกว่าที่ควรจะเป็นเป็นระยะเวลานาน ทำให้คู่แข่งต้องออกไปจากตลาดเพียงเพราะว่าผู้ประกอบการรายนั้นมีเงินทุนน้อยกว่าและไม่สามารถที่จะทนต่อการแข่งขันเช่นนั้นจากผู้มีอำนาจเหนือตลาดได้ • การหาข้อมูลเกี่ยวกับคำเสนอขายของคู่แข่ง เพื่อให้สั่งซื้อสินค้าจาก Akzo เพียงรายเดียว ศาลเห็นว่า เป็นส่วนหนึ่งของแผนการที่จะกำจัดคู่แข่งออกจากตลาด ซึ่งมิใช่การกระทำดังกล่าวที่เป็นปกติธรรมดาแต่เป็นนโยบายทางการค้าเพื่อที่จะกำจัดคู่แข่ง
ค่าปรับ ศาลเห็นว่า การกระทำความผิดของ Akzo มีความรุนแรงอย่างมากทั้งนี้เพราะพฤติกรรมของ Akzo มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะห้ามมิให้คู่แข่งขยายการประกอบธุรกิจ เข้าไปในตลาดที่ Akzo มีอำนาจเหนือตลาดอยู่ก่อนแล้ว และได้สั่งให้ปรับ Akzo เป็นเงิน 7,500,000 ECU
กรณีศึกษา : บริษัท มิชลิน ...
มิชลิน 1. ข้อกล่าวหา บ.มิชลิน ผู้ผลิตยางรถยนต์ใช้อำนาจเหนือตลาดเลือกปฏิบัติด้านราคาและบังคับขายพ่วงยางรถยนต์แก่ผู้จัดจำหน่ายยางรถยนต์ • 2. ข้อเท็จจริง • ปี 1980 บ.มิชลิน มีส่วนแบ่งตลาดในประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นอันดับที่ 2 คือ 57 – 65% • คู่แข่งอีก 5 ราย มีส่วนแบ่งตลาดรวม7-12% • มีนำเข้าจากประเทศสมาชิกอื่น EU 25 – 28%
มิชลิน • 3. การวิเคราะห์ตามข้อกฎหมาย • 3.1 การมีอำนาจเหนือตลาด (Dominance Position) • 3.2 พฤติกรรม : ใช้อำนาจโดยมิชอบ (Abuse of Dominance) ต่อตัวแทนจำหน่ายของตน • 1) ระบบการให้ส่วนลดเพิ่มขึ้นในการขายยางรถบรรทุก • 2) มีการให้เงินพิเศษตามยอดการสั่งซื้อ • 3) มีการให้เงินพิเศษ ซึ่งเป็นการตกลงด้วยวาจาแบบมีเงื่อนไขที่ต้องการ
มิชลิน ระบบการให้ส่วนลดเพิ่มขึ้นแก่ยางรถบรรทุก จาก15%(1977) เพิ่มเป็น 22.5% (1978) 30% (1979) เพื่อมุ่งผูกมัดตัวแทนจำหน่ายไว้กับตน ทำให้คู่แข่งประกอบอย่างต่อเนื่อง ด้วยความลำบาก การให้เงินพิเศษตามยอดการสั่งซื้อ การให้เงินพิเศษซึ่งเป็นการตกลงด้วยวาจาแบบมีเงื่อนไขที่ต้องการ ในอัตราที่แตกต่างกันตามดุลยพินิจของบริษัท ที่กำหนดเป้าหมายใน ระดับที่สูงกว่าจำนวนซื้อในปีก่อนมาก ทั้งๆ ที่เศรษฐกิจตกต่ำ เพื่อสร้างยอดจำหน่ายแก่ตัวแทนในอัตราที่แตกต่างกัน ซึ่งเป็นการกดดันอย่างมาก เสริมสร้างความแข็งแกร่งในอีกตลาดหนึ่ง และไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ทำให้ตัวแทนจำหน่ายไม่สามารถเปรียบเทียบกับราคาซื้อสุทธิที่สามารถเปรียบเทียบกับราคาซื้อสุทธิจากคู่แข่งรายอื่นได้ รวมทั้งมีการให้เงินพิเศษแก่การซื้อยางรถยนต์นั่ง
4.1 การให้ผลตอบแทนเพื่อผูกมัดลูกค้า (Fidelity rebate) แบบไม่เป็นลายลักษณ์อักษรและเป็นการเลือกปฏิบัติ (Price Dicrimination) 4.2 การให้เงินพิเศษ (Extra Bonus) เพื่อใช้อำนาจเหนือตลาด ในตลาดยางรถบรรทุก ผลักดันให้ตัวแทนจำหน่ายต้องซื้อสินค้า ยางรถยนต์นั่งพ่วง นับว่าเป็นการกำหนดเงื่อนไขทางด้านการค้า ที่ไม่เป็นธรรม คำตัดสิน
คดี Boral & BBM. ในประเทศออสเตรเลีย กรณีถูกกล่าวหาว่ามีพฤติกรรมใช้อำนาจเหนือตลาด กำหนดราคาขายต่ำกว่าต้นทุน เพื่อจำกัดคู่แข่ง ในตลาดผลิตภัณฑ์สำหรับก่อสร้าง
ข้อกล่าวหา • บ.บอรัลมีพฤติกรรมการประกอบธุรกิจที่ฝ่าฝืนมาตรา 46 • (Trade Practice Act.) • ใช้อำนาจเหนือตลาดกำจัดคู่แข่งในตลาด โดย • - กำหนดราคาขายต่ำกว่าทุน และ • - ขายตัดราคาเพื่อจำกัดคู่แข่ง คือ C&M • ให้ออกจากตลาด
การพิจารณา ของศาล ศาลพิจารณาประเด็น ดังนี้ : 1.ขอบเขตตลาด มิใช่เป็นตลาดเฉพาะผลิตภัณฑ์ CMP เท่านั้น แต่เป็นตลาดผลิตภัณฑ์ผนัง และแผ่นปูทางเท้า - พื้นถนนด้วย 2. ผู้ถูกกล่าวหา(Boral&BBM) - มีอำนาจเหนือตลาดจริงหรือไม่ - มีการกำหนดราคาขายต่ำกว่าทุนหรือไม่ - มีผลสามารถกำจัดคู่แข่งได้หรือไม่
การพิจารณา ของศาล บจ.บอรัล มีอำนาจเหนือตลาดหรือไม่ 1. ไม่มีอุปสรรคในการเข้าสู่ตลาด - กระบวนการผลิตง่าย - เป็นสินค้าที่ไม่มีเรื่องลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร 2.สภาพการแข่งขันในตลาด ส่วนแบ่งตลาด2537 ไพโอเนียร์ 25 % บอรัล 25-30% โรคลา 22 % บัดเจ็ท 7 % ส่วนแบ่งตลาด2539 ไพโอเนียร์ 25% บอรัล 25-30% (ผู้ถูกกล่าวหา) C&M 40%(ผู้กล่าวหา)
การพิจารณา ของศาล 3.พฤติกรรมการขาย - ตลาด มีการแข่งขันสูง - บอรัลต้องลดราคาตามเพื่อความอยู่รอดของ เพื่อให้ธุรกิจสามารถอยู่ มิออกจากตลาด - ขายต่ำกว่าทุนในช่วงสั้น ไม่มีผลกระทบให้C&M ต้องออกจากตลาด คำพิพากษาของศาลฎีกา • บอรัลไม่มีอำนาจเหนือตลาด • พฤติกรรมการขายต่ำกว่าทุน เพื่อสนองสภาพตลาด • ที่มีการแข่งขันสูง มีเหตุผล • ไม่มีเจตนาทำลายคู่แข่ง C&M ยังอยู่ในตลาด
ในประเทศ สหรัฐอเมริกา องค์กรผู้ให้บริการซ่อมอิสระ ฟ้อง บริษัท Eastman Kodak ข้อหา ละเมิดกฎหมายป้องกันและผูกขาด และเรียกร้อง ค่าเสียหายจากจำเลย พฤติกรรม ไม่ขายชิ้นส่วน จำกัดโดยวิธีการต่างๆ ไม่ให้คู่แข่ง หาซื้อชิ้นส่วนจากแหล่งอื่นได้
ลูกค้าเห็นว่า ค่าซ่อมที่ร้าน ISOs จะต่ำกว่าของ Kodak มากและคุณภาพการซ่อมก็ เหนือกว่า (Higher Quality) ข้อเท็จจริง Eastman Kodak - ผลิตและจำหน่ายเครื่องถ่ายเอกสาร ความเร็วสูง และเครื่องมืออุปกรณ์ เกี่ยวกับไมโครฟิล์ม - ซ่อมเครื่องถ่ายเอกสาร หลังการขาย และเมื่อหนังสือรับประกันหมดอายุ องค์กรผู้ให้บริการซ่อมอิสระ (ISOs) - ทำธุรกิจซ่อมและให้บริการบำรุงรักษาสินค้าของ Kodak - ซื้ออะไหล่และชิ้นส่วนในการซ่อมจาก OEM * ถอดจากเครื่องเก่าของ Kodak * จากลูกค้าที่ซื้อมาจาก Kodak * ซื้อเครื่องเก่ามาถอดเอาชิ้นส่วนบางชิ้น พฤติกรรมKodak - ตกลงกับ OEM ว่าจะไม่ขายชิ้นส่วนให้กับ ISOs - กดดันนายหน้าและผู้จำหน่ายอิสระไม่ให้ขายชิ้นส่วนให้กับ ISOs - ทำให้เครื่องเก่าเหลือในตลาดให้น้อยที่สุด
พฤติกรรมบอกว่าเป็นการขายสินค้า 2 ชนิดควบกัน จะซื้อแต่สินค้าชนิดแรก • (เครื่องถ่ายเอกสารและเครื่องไมโครฟิลม์)ไม่ได้ เว้นแต่ต้องซื้อสินค้าชนิดที่ 2 • (บริการซ่อม) ด้วย • ปริมาณการค้าที่เกี่ยวข้องมีจำนวนมาก (ส่งผลกระทบกว้างทั้งฐานลูกค้ารัฐ,เอกชน) • ผู้ขายควบมีอำนาจเหนือตลาดในสินค้าชนิดแรก (เพราะถ้าหันไปซื้อยี่ห้ออื่น จะต้องจ่ายแพงกว่าค่าซ่อม)switching costสูง • Kodak มีอำนาจเหนือตลาด แต่ไม่สามารถใช้อำนาจดังกล่าวได้ เนื่องจาก • ตลาดทั้งสองเป็นคนละตลาดกัน • หากขึ้นราคาค่าบริการซ่อม (ตลาดที่ 2) ยอดขายในตลาดแรกลดลง • (เนื่องจากลูกค้ารวมค่าบริการซ่อมเข้ากับเครื่องที่ซื้อใหม่ในตอนแรกด้วย) • แต่ในความเป็นจริงไม่ข้อมูลตัดสินใจ) แนวคำพิพากษากรณีการขายควบ (tying) ข้อโต้แย้งของ Kodak
ความเห็นเพิ่มเติม • Kodak ไม่มีอำนาจตลาดในตลาดแรก • - ลูกค้า มองว่า การขึ้นราคาค่าซ่อมแซม เปรียบเหมือนการขึ้นราคา • เครื่องถ่ายเอกสารหรือเครื่องอุปกรณ์ • - ผู้ขาย มองว่า รายได้จากค่าบริการซ่อมแซมเป็นส่วนหนึ่งของค่าขาย • เครื่องถ่ายเอกสารและเครื่องอุปกรณ์ • จึงไม่น่าฟังขึ้นว่าบริษัท Kodak จะขึ้นราคาค่าบริการซ่อมแซม คำพิพากษาของศาลฎีกา บริษัท Kodak กระทำผิดกฎหมายป้องกันการผูกขาด
ค้นคว้าเพิ่มเติมได้ที่ค้นคว้าเพิ่มเติมได้ที่ www.dit.go.th/otcc โทร. 02-547-5428 ถึง 33 02-507-5878 ถึง 85 หรือ 1569 33