270 likes | 499 Views
แมลงสังคม ( Social Insects). แมลงชนิดเดียวกันมีการอาศัยในรังเดียวกัน มีการแบ่งหน้าที่กันทำงาน มีความคาบเกี่ยวกันของอายุสมาชิก เช่น : - ปลวก (Isoptera) - มด ต่อ แตน แมลงภู่ ตัวชันโรง ผึ้ง. ลำดับสังคมของแมลง. 1. แมลงที่อยู่อย่างโดดเดี่ยว (solitary insect)
E N D
แมลงสังคม (Social Insects) • แมลงชนิดเดียวกันมีการอาศัยในรังเดียวกัน • มีการแบ่งหน้าที่กันทำงาน • มีความคาบเกี่ยวกันของอายุสมาชิก • เช่น :- ปลวก(Isoptera) • - มด ต่อ แตน แมลงภู่ ตัวชันโรง ผึ้ง
ลำดับสังคมของแมลง • 1. แมลงที่อยู่อย่างโดดเดี่ยว(solitary insect) • หากินอิสระไม่ได้อยู่ร่วมกันเลย • อยู่ร่วมกันเฉพาะระยะผสมพันธุ์เท่านั้น • ตั๊กแตน แมลงปอ เพลี้ย มวน แมลงปีกแข็ง ฯลฯ
2. แมลงที่อยู่ร่วมกันชั่วคราว (Subsocial insect) • อยู่ร่วมกันเฉพาะป้องกันศัตรู และดูแลลูกอ่อน (maternal care) • ไม่มีการจัดแบ่งหน้าที่การทำงาน • แมลงหางหนีบ จิ้งหรีด ตั๊กแตนตำข้าว ฯลฯ
3. แมลงที่อยู่ร่วมรัง Communal insects • มีสมาชิกอายุเดียวกัน อาศัยร่วมกัน • มีทางออกจากรังร่วมกัน • ไม่มีการช่วยกันเลี้ยงลูกอ่อน • ตัวเมียเลี้ยงลูกของตัวเอง และวางไข่ • ผึ้งกัดใบ (Megachilidae) ,Halictidae
4. แมลงสังคมพื้นฐาน (Quasisocial) • สมาชิกรุ่นเดียวกัน ไม่เกิน 10 ตัว • ช่วยกันสร้างรัง • ช่วยกันเลี้ยงดูตัวอ่อน • ตัวเมียทุกตัววางไข่ได้ • สะสมอาหารให้ลูกอ่อน • ผึ้งกัดใบ ,ผึ้งวงศ์ Halictidae
แมลงสังคมชั้นกลาง (Semisocial insects) • -เพศเมียหลายตัวอยู่ร่วมกัน • - มีวรรณะสืบพันธุ์ : “นางพญา” • - ตัวเมียเป็นหมัน : เลี้ยงดูตัวอ่อน • ต่อ, แตนบางชนิด,ผึ้งรู
6. แมลงสังคมแท้ (Eusocial insects) • เพศเมียทำหน้าที่เลี้ยงดูตัวอ่อน • กำหนดวรรณะสืบพันธุ์ในสมาชิกเพศเมียบางตัว • มีแมลงต่างรุ่นอยู่ร่วมกัน • ปลวก, ผึ้ง (Apidae)
ผึ้ง (Bee) 1. ผึ้งนางพญา (queen) - วางไข่ - ผลิต queen pheromone -ควบคุมการทำงานของรัง - ป้องกันไม่ให้ ผึ้งงานสร้าง queen cell
2. ผึ้งตัวผู้ (Drone) • - มีหน้าที่ผสมพันธุ์กับผึ้งนางพญา • - ได้รับการเลี้ยงดูจากผึ้งงาน • - ลิ้นสั้นดูดอาหารจากดอกไม้ไม่ได้
3. ผึ้งงาน (Worker) • - ผึ้งตัวเมียรังไข่ไม่เจริญ • - มีเหล็กไน,wax gland, pollenbasket • - มีกระเพาะเก็บน้ำผึ้ง,ต่อมผลิต alarm pheromone • 3.1 ผึ้งประจำบ้าน (house bee) • 3.2 ผึ้งสนาม (field bee) • หาอาหาร ออกสำรวจ
พฤติกรรมของผึ้ง 1. การผสมพันธุ์ - นางพญาบินไปผสมกับผึ้งตัวผู้ - บิน 1 ครั้ง ผสมกับตัวผู้ 10-15 ตัว - บินกลับรังและไม่ผสมอีกตลอดชีวิต
2. การวางไข่ - วางไข่ 1 ฟอง / cell, 2000 ฟอง / วัน - cell ใหญ่วางไข่เพศผู้, cell เล็กวางไข่ผึ้งงาน - ผึ้งงานให้อาหาร royal jelly
3.การเลี้ยงดูตัวอ่อน • ให้อาหารroyal jelly (1-4 วัน) • ถ้าเจริญเป็นผึ้งตัวผู้ /ผึ้งงานจะหยุดให้royal jelly
4. การหาน้ำหวานและเกสรดอกไม้ • - ปรับปรุงเวลาทำงานให้ตรงกับดอกไม้บาน • - เก็บเกสร 25 %, น้ำหวาน 60 % • - กลับรัง จ่ายน้ำผึ้งให้ผึ้งประจำรัง • - ผึ้งประจำรังรับด้วย probosis
6. การแยกรัง • - ประชากรมากเกินไป • - ไม่มี cell ว่างสำหรับวางไข่/เก็บน้ำหวาน • - นางพญาอายุมากเกินไป • - ผึ้งงานเริ่มสร้าง Queen cell • - ผึ้งงาน1/2 และ ผึ้งนางพญาบินออกจากรัง
7. การเต้นรำ • 7.1 การเต้นแบบวงกลม(round dance) • แหล่งอาหารไม่เกิน100 ม.
การป้องกันรัง • - เฝ้าหน้ารัง • - ใช้เหล็กไน ต่อยศัตรู • - ฟีโรโมน เตือนภัย (alarm pheromone) กระพือปีกส่งฟีโรโมน
7.2 การเต้นแบบส่ายท้อง(tail wagging dance) - เต้นเป็นเส้นตรงและวนซ้าย – ขวา ครึ่งรอบ - บอกทิศทางและระยะทางแหล่งอาหาร 9-10=100m 4=1000m ใน15 นาที - ช้าอาหารน้อย แรงและเร็วอาหารมาก 7.3 การเต้นรำแบบเตือนภัย(alarm dance) - เต้นแบบซิกแซก / แบบเกลียว - แกว่งท้องรุนแรง
ปลวก (termite) มีโปรโตซัวย่อยcellulose • วรรณะสืบพันธุ์ (reproductive caste) - King, Queen - Q มีส่วนท้องขยายใหญ่ - Q มีหน้าที่วางไข่
2. Sterile caste • 2.1 ปลวกงาน(worker) • - ทำความสะอาดรัง • - เลี้ยงดู Q • - cellulase enzyme ย่อย cellulose • 2.2 ปลวกทหาร (soldier) • - ส่วนหัวแข็ง • - mandible ใหญ่
มด 1. นางพญา (Queen) - มีอายุ 12-17 ปี - ไข่วางทั่วไปในรัง - ตัวเต็มวัยเพศเมีย ผสมกับเพศผู้ 2. มดเพศผู้ (Drone) - ผสมพันธุ์และตาย
3. มดงาน(Worker) • - เพศเมียไม่มีปีก • - มีอายุ 6 ปี • - ดูแลตัวอ่อนในรัง • - ชนิดและทำเครื่องหมายด้วย