300 likes | 317 Views
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1. นายดำหริ งิมสันเทียะ. 1. ทำไมต้องเป็น โรงเรียนคุณภาพตำบล. 1. เพื่อ “ปรับโครงสร้างจำนวนครู ผู้บริหาร นักเรียน” “แก้ไขความเหลื่อมล้ำในด้าน โอกาส คุณภาพ การบริหารจัดการ การบูร ณา การวิธีการและทรัพยากร”
E N D
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 นายดำหริ งิมสันเทียะ
1 ทำไมต้องเป็น โรงเรียนคุณภาพตำบล
1 เพื่อ“ปรับโครงสร้างจำนวนครู ผู้บริหาร นักเรียน” “แก้ไขความเหลื่อมล้ำในด้าน โอกาส คุณภาพ การบริหารจัดการ การบูรณาการวิธีการและทรัพยากร” “ขจัดความยากจน มุ่งสู่ “ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” “โรงเรียนต้นแบบที่เป็นมาตรฐาน”
2 เป้าหมายหลักการพัฒนา ของโรงเรียนคุณภาพตำบล คืออะไร
1. ผู้เรียนมีคุณภาพทั้งด้าน IQ EQ AQ และมีพัฒนาการที่สมส่วน 2. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม 3. มีการบริหารจัดการที่ดีมีคุณภาพ 4. โอกาสทางการศึกษาที่เท่าเทียม 5. การมีส่วนร่วม/การสร้างเครือข่าย (เอกชน บ้าน วัด รัฐ โรงเรียน) แบ่งปันทรัพยากร
3 โจทย์การพัฒนาคุณภาพนักเรียนควรตอบโจทย์อะไร/ระดับใดบ้าง
3 โจทย์ระดับโลก - ศตวรรษที่ 21 (3R 8C) - PISA - AI: Artificial Intelligence - IOT: Internet of Things - ป้องกันภัยคุกคามสากล ภัยไซเบอร์ภัยธรรมชาติ ภัยจากมนุษย์
3 โจทย์ระดับประเทศ - แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี, Thailand 4.0 -STEM Education, Active Learning - พระราชดำริด้านการศึกษา รัชกาลที่ 9 - พระบรมราโชบายด้านการศึกษา รัชกาลที่ 10 - ค่านิยม 12 ประการ
3 โจทย์ระดับภาคของประเทศไทย - แผนยุทธศาสตร์ระดับภูมิภาค -ค่านิยมและวัฒนธรรมภูมิภาค
3 โจทย์การพัฒนากลุ่มจังหวัดและจังหวัด - แผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดและจังหวัด -ค่านิยมและวัฒนธรรมระดับจังหวัด - อัตลักษณ์ของชาวอยุธยา - แผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
3 แผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ( พ.ศ. 2561 – 2565 ) ผู้เรียนมีอัตลักษณ์ของชาวอยุธยา - มีวินัย - ซื่อสัตย์ - จิตสาธารณะ - รักษ์สิ่งแวดล้อม - รู้ประวัติศาสตร์ - รักท้องถิ่น
3 โจทย์การพัฒนาตามบริบทอำเภอ/ตำบล/ท้องถิ่น - แผนยุทธศาสตร์อำเภอ/ตำบล/ท้องถิ่น ที่เน้น อัตลักษณ์ของแต่ละระดับ -ค่านิยมและวัฒนธรรมในแต่ละระดับ
3 โจทย์การพัฒนานักเรียนตามความแตกต่างและศักยภาพของนักเรียนรายบุคคล - ส่งเสริมความสามารถให้ถึงขีดสุดของศักยภาพในด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา (มวย ฟุตบอล วอลเลย์บอล เซปักตะกร้อ) วิชาการ - ส่งเสริมความสามารถทางอาชีพ ด้านการเกษตร -ส่งเสริมทักษะชีวิต ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี
3 โจทย์การพัฒนาที่ประชาชน/ผู้ปกครองต้องการ - ความเชื่อมั่นในคุณภาพผู้เรียน ที่เป็นผลิตผลของโรงเรียน - การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพให้เลี้ยงดูตนเองได้ -การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้รักถิ่นฐานบ้านเกิด -การจัดการศึกษาเพื่อการศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยชั้นนำ
4 คุณภาพโรงเรียนคุณภาพประจำตำบลควรเป็นอย่างไร Outcome -ประชาชนมีความเชื่อมั่นในคุณภาพผู้เรียนที่ผ่านกระบวนการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล -สังคมสงบสุขร่มเย็น
4 คุณภาพโรงเรียนคุณภาพประจำตำบลควรเป็นอย่างไร Output -โครงสร้างพื้นฐานครบถ้วนสมบูรณ์ โรงเรียนน่าอยู่ คุณครูพากเพียร นักเรียนมีคุณภาพ [IQ (RT, NT, O-NET, PISA) EQ AQ] -ทุกภาคส่วนร่วมมือกันจัดการศึกษา (ภาครัฐ เอกชน บวร) -ครูได้รับการพัฒนาเทคนิค รูปแบบ วิธีการ การสอน -ผู้บริหารสนับสนุนสื่อการจัดการเรียนการสอน
5 การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาของแต่ละโรงเรียน ทักษะวิชาการ-ความรู้พื้นฐาน - อ่านออก เขียนได้ ลายมือสวย, อ่านคล่อง เขียนคล่อง - อ่านเข้าใจ ตีความหมาย จับใจความสำคัญได้ - เขียนสื่อสารแนวคิดของตนเองได้ตรงประเด็น - เน้นกระบวนการคิดขั้นพื้นฐาน สู่การคิดขั้นสูง - เน้นพัฒนาหลักสูตรระดับชั้นเรียน
5 การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาของแต่ละโรงเรียน ทักษะชีวิต-ทักษะงาน - มีทักษะชีวิตที่ดีมีคุณภาพ อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข - มีความคิดเชิงบวก คิดสร้างสรรค์ - มีทักษะในการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน - มีความซื่อสัตย์ อดทน กล้าหาญ
5 การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาของแต่ละโรงเรียน ทักษะอาชีพ-ความรู้เฉพาะทาง - ความเป็นเลิศเฉพาะทาง เฉพาะด้าน - พัฒนาโครงงานอาชีพ ด้วยกระบวนการ PBL (Project-based Learning, Problem-based Learning)
6 กระบวนการในการดำเนินการควรทำอย่างไร
6 กระบวนการในการดำเนินการควรทำอย่างไร
7 เราควรขับเคลื่อนเพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอะไร หรือด้านใดบ้าง จึงจะเกิดผลสัมฤทธิ์ทั้งระยะยาวและระยะสั้น ระยะสั้น - ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย - ระดมแนวคิดกำหนดแนวทางการพัฒนา จัดทำยุทธศาสตร์ - ตรวจสอบศักยภาพพื้นฐาน ด้านวิชาการ วิชาชีพ วิชาชีวิต - จัดทำหลักเกณฑ์/วิธีการการประเมิน - จัดทำ MOU กับทั้งภาคเอกชน ภาครัฐ บวร
7 เราควรขับเคลื่อนเพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอะไร หรือด้านใดบ้าง จึงจะเกิดผลสัมฤทธิ์ทั้งระยะยาวและระยะสั้น ระยะยาว -เน้นการนิเทศ ติดตามและประเมินผล ตามหลักเกณฑ์/วิธีการ -ทุกภาคส่วนจะต้องลงมารับผิดชอบคุณภาพผู้เรียน -การจัดระบบการประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็ง
8 เครื่องมือทางการบริหารที่นำมาใช้ ควรมีอะไรบ้าง - แผนยุทธศาสตร์ระดับเขตพื้นที่/สถานศึกษา - หลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับบริบทท้องถิ่น - แผนพัฒนาครูโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐาน - แผนการใช้/การแบ่งปันทรัพยากร (เครื่องมือวิทยาศาสตร์)
9 การประเมินความก้าวหน้าความสำเร็จและการรายงาน ต่อสาธารณชน - เครื่องมือการนิเทศ ติดตามและประเมินผล - กระบวนการ PLC, AAR
10 การนับถอยหลังจากวันนี้ถึงก่อน 16 พฤษภาคม 62 จะกำหนด Timeline อย่างไร เขตพื้นที่ (1-15 กุมภาพันธ์ 62) - จัดทำยุทธศาสตร์ - กำหนดแนวทาง/หลักเกณฑ์/วิธีการ/เครื่องมือ - แผนปฏิบัติการ (โครงการ) - ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ
10 การนับถอยหลังจากวันนี้ถึงก่อน 16 พฤษภาคม 62 จะกำหนด Timeline อย่างไร โรงเรียน (18 กุมภาพันธ์- 31 มีนาคม 62) - จัดทำยุทธศาสตร์ - กำหนดแนวทาง/หลักเกณฑ์/วิธีการ/เครื่องมือ - ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ ลงนาม MOU - จัดระบบพัฒนาครูโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐาน
10 การนับถอยหลังจากวันนี้ถึงก่อน 16 พฤษภาคม 62 จะกำหนด Timeline อย่างไร ชั้นเรียน (1 มีนาคม – 15 พฤษภาคม 62) - บริหารจัดการระบบ Internet ความเร็วสูง - จัดหาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี - จัดระบบ PLC, AAR - พัฒนาหลักสูตรระดับชั้นเรียน
10 การนับถอยหลังจากวันนี้ถึงก่อน 16 พฤษภาคม 62 จะกำหนด Timeline อย่างไร ผู้เรียน (1-15 พฤษภาคม 62) - ปรับความรู้พื้นฐานการเรียนรู้ - ประเมินชิ้นงานนักเรียนเป็นรายบุคคล - พัฒนานักเรียนเป็นรายบุคคล
กราบขอบพระคุณครับ นายดำหริ งิมสันเทียะ ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา พระนครศรีอยุธยา เขต 1