760 likes | 1.36k Views
รูปแบบการจัดการศึกษาเพื่อเตรียมเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน โดย ตวง อันทะไชย สมาชิกวุฒิสภา. ตวง อันทะไชย สมาชิกวุฒิสภา. สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ 2549. สมาชิกวุฒิสภา 2551. สมาชิกวุฒิสภา 2554. รองประธานกรรมาธิการการศึกษา วุฒิสภา 2551-2554.
E N D
รูปแบบการจัดการศึกษาเพื่อเตรียมเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน โดย ตวง อันทะไชย สมาชิกวุฒิสภา
ตวง อันทะไชย สมาชิกวุฒิสภา • สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ 2549 • สมาชิกวุฒิสภา 2551 • สมาชิกวุฒิสภา 2554 • รองประธานกรรมาธิการการศึกษา วุฒิสภา 2551-2554 • รองประธานคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนฯ 2551-2554 • ประธานคณะกรรมการอำนวยการโครงการเฉลิมพระเกียรติ วุฒิสภา • ประธานคณะกรรมการศึกษาการเตรียมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของเครือข่าย ภาคประชาสังคม ภาคอีสาน
ประเด็นที่ต้องแลกเปลี่ยนในวันนี้ประเด็นที่ต้องแลกเปลี่ยนในวันนี้ • ประชาคมอาเซียนคืออะไร • ประชาคมอาเซียนมีความสำคัญอย่างไรกับประเทศไทยและในอาเซียน • จะจัดการจัดการศึกษาเพื่อเตรียม เข้าสู่ประชาคมอาเซียนอย่างไร
โลกแห่งอนาคต ? Global Village เด็ดดอกไม้ ก็สะเทือนถึงดวงดาว
โลกในอนาคตไม่ใช่ขายของโลกในอนาคตไม่ใช่ขายของ SERVICES BRAND
ก่อนจะเป็น ประชาคมอาเซียน -2504 วิสัยทัศน์อาเซียน -ASEAN VISION 2020 ประชาคมอาเซียน-ASEAN COMMUNITY 2015 One Vision ONE Identity One Community “กว่าจะเป็น ประชาคมอาเซียน”
ASEAN ? • Bangkok Declaration • ๘ สิงหาคม ๒๕๑๐ • เพื่อความมั่นคงจากภัยคอมมิวนิสต์
Asean ? • สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ • Association of South East Asian Nations • ไทย มาเลย์ ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย พม่า ลาว เวียดนาม กัมพูชา บรูไน สิงคโปร์ • GDP 1.8 ล้านล้านดอลล่าร์สหรัฐ ลำดับที่ 9 ของโลก
สามเสาประชาคมอาเซียน ๑. ด้านการเมืองและความมั่นคง ๒. ด้านเศรษฐกิจ ๓. ด้านสังคมและวัฒนธรรม
Blueprints : APSC • เพื่อให้ประเทศในภูมิภาคอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข และแก้ไขปัญหาโดยสันติวิธี • ร่วมกันเผชิญหน้าภัยคุกคามรูปแบบใหม่ เช่น การก่อการร้าย ยาเสพติด การค้ามนุษย์ • ส่งเสริมความร่วมมือทางทะเล
Blueprints : AEC • เพื่อให้ภูมิภาคมีความมั่งคั่ง มั่นคงทางเศรษฐกิจ และสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นได้ • ทำให้อาเซียนเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว • ให้เกิดการไหลเวียนอย่างเสรีของสินค้า บริการ การลงทุน และเงินทุน • พัฒนาฝีมือแรงงาน และให้มีการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรี
Blueprints : ASCC • เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน • เสริมสร้างอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของอาเซียน • สร้างประชาสังคมที่เอื้ออาทร • ส่งเสริมความยั่งยืนเรื่องสิ่งแวดล้อม • ส่งเสริมความเข้าใจระหว่างประชาชนในระดับรากหญ้า
สำคัญอย่างไรกับคนไทย • ข้อตกลงทุกข้อนั้น • ทุกประเทศต้องปฏิบัติตามทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง • ประเทศใดในอาเซียนปฏิบัติไม่ได้ตามข้อตกลง ต้องยอมรับและสละสิทธิ์นั้น
จุดเปลี่ยนครั้งสำคัญ ของประเทศไทยใน 1 มกราคม 2558
1.ข้อตกลงยอมรับร่วมกันในคุณสมบัตินักวิชาชีพอาเซียน(Mutual Recognition ArrangementหรือMRAs) วิศวกรรม การพยาบาล สถาปัตยกรรม การสำรวจ แพทย์ ทันตแพทย์ บัญชี
เงื่อนไข 1 มกราคม 2558 หากมีความสามารถและผ่านเกณฑ์เงื่อนตามที่แต่ละประเทศกำหนดได้ จะสามารถเข้าไปทำงานได้ใน 10 ประเทศโดยเสรี
2.หลังปี 58 มอบให้ผู้ประสานงานหลัก(Country Coordinators) 11 สาขา พม่า-เกษตรและประมง มาเลเซีย-ยางและสิ่งทอ สิงคโปร์-เทคโนโลยีสารสนเทศและสุขภาพ ฟิลิปปินส์-อิเล็กทรอนิกส์ ไทย-ท่องเที่ยวและการบิน
3.ภาษากลางของอาเซียน • English คือ ภาษาอาเซียน
4.วัฒนธรรมที่แตกต่างต้องมาอยู่ร่วมกัน4.วัฒนธรรมที่แตกต่างต้องมาอยู่ร่วมกัน • วัฒนธรรมขงจื้อ-เวียดนาม,สิงคโปร์ • วัฒนธรรมพุทธ-ไทย,พม่า,ลาว,กัมพูชา • วัฒนธรรมอิสลาม-มาเลซีย,อินโดนีเซีย,บรูไน • วัฒนธรรมคริสต์-ฟิลิปปินส์
5.AFAS=เปิดเสรีสินค้าและบริการ5.AFAS=เปิดเสรีสินค้าและบริการ • บริการข้ามแดน(Cross-border Supply) • บริโภคต่างประเทศ(Consumption Abroad) • จัดตั้งธุรกิจเพื่อให้บริการ (Commercial Presence) • การให้บริการโดยบุคคลธรรมดา (Presence of Natural Person)
ผลกระทบประเทศไทย:เปิดแรงงานเสรีอาเซียน 58 • การไหลบ่าของแรงงานที่จะเข้ามาแข่งขัน • แรงงานไทยจะขาดแคลนมากยิ่งขึ้น • สมองไหลไปทำงานในต่างประเทศ • ลาว พม่า กัมพูชา จีนและอินเดียจะเข้ามามากยิ่งขึ้น
ไม่มีพรมแดนมาขวางกั้นอีกต่อไปไม่มีพรมแดนมาขวางกั้นอีกต่อไป
ทุกประเทศต้องชูธงของตนเองทุกประเทศต้องชูธงของตนเอง
ท่านคิดว่าเขามาแข่งกับเราได้หรือไม่ท่านคิดว่าเขามาแข่งกับเราได้หรือไม่
เขาเป็นใคร?มาจากไหน? ทำไม ?
ประเทศไทยเตรียมตัวอย่างไรประเทศไทยเตรียมตัวอย่างไร
สรุปผลการสำรวจทัศนคติและการตระหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียนสรุปผลการสำรวจทัศนคติและการตระหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียน สำรวจนักศึกษา 2,170คน จากมหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศสมาชิกอาเซียน
ผลการวิจัยชี้นักเรียนนักศึกษาไม่ทราบ ASEAN • จากการสำรวจของกรมการจัดหางาน โดยกองวิจัยตลาดแรงงาน เรื่อง ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรีในประชาคมอาเซียน • ศึกษาเฉพาะกรณีนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในกรุงเทพมหานคร จำนวน 736 คน • ผลปรากฏว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ หรือ ร้อยละ 99.46 ยังไม่ทราบเรื่องการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรีในประชาคมอาเซียน มีเพียงร้อยละ 0.54 เท่า นั้น
อุดมศึกษา • ทำหลายโครงการแต่ไม่มีงบประมาณ • พัฒนาด้านผู้สอนให้จบปริญญาเอกมากที่สุด ให้ทุนเรียนภาษาประเทศเพื่อนบ้าน แต่น้อยและ ไม่มีผู้สนใจ • มีAU ทำอยู่แล้ว เพราะมีสำนักงานตั้งอยู่ในประเทศไทย รัฐบาลไทยให้งบฯปีละ 7 ล้านบาท
อาชีวศึกษา • จะตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ เพื่อพัฒนาแรงงานฝีมือให้มีคุณภาพและเป็นที่ยอมรับในระดับสากล • ครูขาดวิสัยทัศน์ ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน • มีความร่วมมือกับกัมพูชา,ลาว,สิงคโปร์ อยู่แล้ว แต่ไม่มีงบประมาณสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน • กำหนดให้เป็นหนึ่งในนโยบายสำคัญของปีนี้ • คุรุสภาจัดประชุมครูอาเซียนทุกปี • SP2 ผลักดันให้มี Spirit of ASEAN-68 • SISTER-30 • BUFFER-14 • ASEAN Focus-14
สภาการศึกษา • มีโครงการดำเนินการมาก ไม่มีงบประมาณ • การมีส่วนร่วมของของคนในประเทศน้อยไป • เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ปกครอง เข้ามามีส่วนร่วมน้อยไป • ประเทศไทยต้องรู้ว่า เราอยู่ตรงไหนของอาเซียน จะเตรียมอย่างไร
สนง.ปลัดกระทรวงศึกษาธิการสนง.ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ • มีเพียงนโยบายแต่ไม่มีงบประมาณ “Education Hub” • การเปิดเสรีทางการศึกษาให้ต่างชาติเข้ามาลงทุนด้านการศึกษาได้ • อยากทำหลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรเกี่ยวกับอาเซียน
ปัญหาและข้อจำกัดของไทยปัญหาและข้อจำกัดของไทย • 1.รัฐบาล ไม่สนับสนุน นโยบาย-งบประมาณ • 2.ภาครัฐ ตระหนักน้อย - เฉื่อยชา • 3.การจัดการศึกษาไม่เตรียมให้พร้อมเพื่อรองรับ • 4.ไม่มีหน่วยงานหรือองค์กรเพื่อทำหน้าที่เตรียมความพร้อมให้กับพลเมืองไทยเข้าสู่ประชาคมอาเซียนอย่างมืออาชีพ จริงจัง
ประเทศไทย • ไม่เรียนรู้ประเทศอาเซียนทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ภาษา ประเพณี ประวัติศาสตร์ รสนิยม • ไม่สนใจต่อยอดจุดแข็ง สร้างเสริมจุดอ่อน
จุดแข็ง โอกาส ประเทศไทยในอาเซียน
จีน พม่า ลาว EWEC เวียดนาม ไทย กัมพูชา ช่องแคบมะละกา มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ช่องแคบซุนด้า ช่องแคบลอมบ็อค แหล่งที่มาของข้อมูล : www.thai-canal.com
รายได้ต่อหัวประชาชนใน ASEAN
ต้องเตรียมอย่างไรบ้างต้องเตรียมอย่างไรบ้าง ข้อเสนอเชิงนโยบายจากแผนปฏิบัติการของASEAN
การศึกษา:คนไทยมีลักษณะอย่างไร ? • อยู่ในสังคมไทยได้ • คนเก่ง คนดี มีความสุข • สู้...กับอีก 10 ประเทศได้หรือ
ต้องสื่อสารเรื่อง ASEAN ไปถึงประชาชน • สื่อพื้นบ้าน/ท้องถิ่น • สื่อกระแสหลัก-ทีวี/หนังสือพิมพ์ • กำหนดเป็นนโยบายรัฐ • ประชาชนต้องเป็นเจ้าของอาเซียน • อาเซียนต้องเป็นเจ้าของประชาชน
สร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องอะไรสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องอะไร • กฎบัตรอาเซียน ? • ประเทศในอาเซียน ? • ภาษาอาเซียน • ภาษาประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน ? • ความต่างและความเหมือนของประวัติศาสตร์และ วัฒนธรรมอาเซียน
ต้องสร้างและสนับสนุน • การพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษใหม่ เพื่อการสื่อสาร • การจัดการเรียนการสอนภาษาประเทศเพื่อนบ้าน เป็น วิชาที่สองหรือวิชาเลือก • ยกระดับ วิชากฎหมายความร่วมมือระหว่างประเทศ
ต้องสร้าง Future Leader of ASEAN • ระดับนักเรียน นักศึกษา • ระดับครู-อาจารย์-บุคลากรทางการศึกษา • ระดับผู้นำชุมชนและสังคม • ระดับภาครัฐและภาคเอกชน