250 likes | 538 Views
โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ ( Health Promotion Hospital : HPH ). นโยบายสร้างเสริมสุขภาพ โรงพยาบาลจิตเวชนครพนมฯ. 1. เสริมสร้างค่านิยมและพฤติกรรมสุขภาพของบุคลากร เพื่อเป็นต้นแบบที่ดีให้กับชุมชน 2. จัดให้องค์กรมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพทางสังคมและจิตใจที่ดี
E N D
โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ (Health Promotion Hospital : HPH)
นโยบายสร้างเสริมสุขภาพ โรงพยาบาลจิตเวชนครพนมฯ 1.เสริมสร้างค่านิยมและพฤติกรรมสุขภาพของบุคลากร เพื่อเป็นต้นแบบที่ดีให้กับชุมชน 2.จัดให้องค์กรมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพทางสังคมและจิตใจที่ดี 3.สร้างวัฒนธรรมองค์กรในการส่งเสริมสุขภาพ และพัฒนาทักษะของบุคลากรในการ สร้างเสริมสุขภาพ 4. มีการถ่ายทอดและสร้างความเข้าใจ แก่บุคลากรของโรงพยาบาลเกี่ยวกับนโยบาย การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
5. สื่อสารประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องแก่บุคลากร ผู้รับบริการ และประชาชนทั่วไป 6. ค้นหาปัญหาโดยกระบวนการรับฟังเสียงสะท้อน จากบุคลากรของโรงพยาบาล ผู้รับบริการและชุมชนด้วยรูปแบบต่างๆ 7.มีวัสดุ อุปกรณ์ เพียงพอสำหรับกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพของบุคลากร/ผู้รับบริการ/ ครอบครัว/ญาติ และประชาชนในชุมชน 8.มีกิจกรรมการสร้างแนวคิด ความรู้ความเข้าใจ ความตระหนักและแนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพสำหรับบุคลากรในโรงพยาบาลทุกระดับ
9. ฝึกอบรมและจัดกิจกรรมเรียนรู้ การจัดการความรู้มีการสร้างขวัญกำลังใจสำหรับบุคลากรในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ 10. โรงพยาบาลเป็นเขตปลอดบุหรี่ไม่มีการขาย จำหน่าย จ่ายแจก เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในร้านค้าที่ตั้งอยู่ในเขตโรงพยาบาล 11. โรงพยาบาลเป็นพื้นที่ที่มีการป้องกันโรคไข้เลือดออก มีการสำรวจและกำจัดลูกน้ำยุงลาย พาหะนำโรคไข้เลือดออก 12. มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้รับบริการ มีกิจกรรมที่สนับสนุนการมีส่วนร่วมและบรรยากาศ ที่ดีในการทำงาน 13. การตรวจสุขภาพและประเมินพฤติกรรมสุขภาพประจำปี 14.มีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพกาย จิต สังคม สำหรับบุคลากรที่ตอบสนอง/สอดคล้องกับปัญหาสุขภาพและ/หรือความต้องการของบุคลากร
15.จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพตามสภาพปัญหาของผู้รับบริการแบบองค์รวม15.จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพตามสภาพปัญหาของผู้รับบริการแบบองค์รวม เช่น ผู้ป่วย กลุ่มญาติและครอบครัว กลุ่มที่มีความเสี่ยง กลุ่มที่มีสุขภาพดี เป็นต้น 16.มีกลไกให้ชุมชนได้มีสถานที่ที่เหมาะสมเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ รับฟังความคิดเห็นและความคาดหวังต่อบริการส่งเสริมสุขภาพของชุมชนชุมชนมีการรวมตัวกันเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพ เช่น เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ บุหรี่ สารเสพติด และการกำจัดป้องกันลูกน้ำยุงลาย 17. พฤติกรรมเสี่ยง/พฤติกรรมที่มีผลเสียต่อสุขภาพลดลง สภาวะสุขภาพการป่วยซ้ำลดลงการลดภาวะแทรกซ้อนในโรคเรื้อรังลดลง
ทีมงานของHPH พี่ต๋อง ทีมส่งเสริมสุขภาพ ผู้รับบริการครอบครัวและญาติ ทีมสิ่งแวดล้อม ทีมส่งเสริมสุขภาพบุคลากร - สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ - สิ่งแวดล้อมทางสังคม -สิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นให้ เกิดการส่งเสริมสุขภาพ • ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพและ • พฤติกรรมสุขภาพของ ผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติ - ปรับระบบบริการสุขภาพของโรงพยาบาล - ประเมินกระบวนการให้บริการด้านสุขภาพ -ข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพบุคลากร -กฎ ระเบียบ ข้อตกลง ที่เกี่ยวกับส่งเสริมสุขภาพบุคลากร นัสถ์(พัสดุ) ,พี่วัน(ธุรการ) วีระ(เกิน),จิ้งหรีด, น้องนุ่ม(พัสดุ) เลขาฯนวล, เอ (เศกสรรค์) ,พี่น้อยIT,อิ๊กคิว,กำนันจง,ต้น(วรากร),ไก่น้อย ปาน(มยุรี) ก้อย(อัจฉรา) พี่ป๊อป,พี่หนุ่ย,ป้าไก่,คุณหนูแอน,น้องแพนเค้ก,เจี๊ยบ(ปณิตา),น้องเพชร
ทีมงานของHPH ทีมสิ่งแวดล้อม ทีมส่งเสริมสุขภาพบุคลากร ทีมส่งเสริมสุขภาพ ผู้รับบริการครอบครัวและญาติ ทีมส่งเสริมสุขภาพในชุมชน - วางระบบบริการส่งเสริมสุขภาพจากโรงพยาบาลลงสู่ชุมชน • สนับสนุนให้ชุมชนมีฐานข้อมูลด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ • ของชุมชนที่เป็นปัจจุบัน และนำไปใช้ประโยชน์ได้ - สนับสนุนให้เกิดแผนงานส่งเสริมสุขภาพ ถ่ายทอดสื่อสารสู่การปฏิบัติโดยชุมชนมีส่วนร่วมทุกขั้นตอน
ปัญหาสุขภาพบุคลากรและการออกแบบกิจกรรมที่เหมาะสมกับกลุ่มเสี่ยง 1.ระดับไขมันในเลือด 2.ความเข้มข้นของเลือด(โลหิตจาง) 3.ความผิดปกติการทำงานของตับ 4.ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง 5.เฝ้าระวังภาวะอ้วนลงพุง
1.ระดับไขมันในเลือด ได้แก่ cholesterol และtriglycerides ภาวะไขมันในเลือดสูง เช่น กรรมพันธุ์ รับประทานอาหารที่มีไขมันสูง อายุที่มากขึ้น การขาดการออกกำลังกาย การสูบบุหรี่ และการดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจำ การออกแบบกิจกรรม - กิจกรรมรณรงค์ควบคุมอาหาร “ลดความอ้วน ลงพุง” “งดสูบบุรี่” โภชนาการ สุขอนามัย -การออกกำลังกาย เช่น การวิ่ง เต้นแอโรบิก ขี่จักรยาน - ตั้งชมรม/ประชุมกลุ่ม เช่น ชมรมเฝ้าระวังอาหารว่าง ชมรมเราไม่ดื่ม - ตรวจเลือดทุก 3 เดือน
2.ความขัมข้นของเลือด(โลหิตจาง)2.ความขัมข้นของเลือด(โลหิตจาง) อาการแสดง เช่น รู้สึกเหนื่อย อ่อนล้า รู้สึกไม่สบายทั่วตัว และบางครั้งระดับสมาธิลดลง การออกแบบกิจกรรม ชมรมหมอยา ,เภสัชบำบัด รณรงค์การไม่รับประทานยาชุด ยาหม้อ ยาลูกกลอน เนื่องจากมักมียาที่ระคายกระเพาะอาหาร โภชนาการอาหาร 5 หมู่ ตรวจเลือดทุก 3 เดือน , การตรวจวิเคราะห์อุจจาระ (Stool) ทุก 3 เดือน
3.ความผิดปกติการทำงานของตับ3.ความผิดปกติการทำงานของตับ การออกแบบกิจกรรม รณรงค์อาหารครบทุกมื้อและตรงเวลา ดื่มนมป้องกันขาดสารอาหาร เช่น นมถั่วเหลือง น้ำเต้าหู้ รณรงค์อาหารว่างในช่วงสายและช่วงบ่าย งดสุราหรือของมึนเมาที่มีแอลกอฮอล์ ตรวจเลือดทุก 3 เดือน ชมรมออกกำลังกาย
4.ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง4.ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง อาการ คือ กระหายน้ำมาก ปัสสาวะบ่อยมากและผิดปกติ โดยเฉพาะ ในเวลากลางคืน อ่อนเพลียง่วงซึมไม่สดชื่น เหนื่อยง่าย น้ำหนักลด ตาพร่ามัว คลื่นไส้ และอาจถึงขั้นชักกระตุกเฉพาะที่ และหมดสติได้ การออกแบบกิจกรรม -รณรงค์การดื่มน้ำบ่อยๆ รณรงค์ดื่มน้ำเปล่า อาหาร 5 หมู่ ออกกำลังกายสม่ำเสมอกิจกรรมตรวจสุขภาพ กิจกรรมงานอดิเรก ตรวจเลือดทุก 3 เดือน