580 likes | 1.02k Views
แนวทางการดำเนินงาน. และสนับสนุนการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร. ปี 2554. กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร. กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร. วิสัยทัศน์. “เป็นเลิศทางวิชาการ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเกษตรกร และองค์กรเกษตรกร ให้พึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน”. โดย นาง วรา รัตน์ ฤาชา
E N D
แนวทางการดำเนินงาน และสนับสนุนการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ปี 2554 กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร วิสัยทัศน์ “เป็นเลิศทางวิชาการ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเกษตรกร และองค์กรเกษตรกร ให้พึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน” โดย นางวรารัตน์ ฤาชา ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร
พันธกิจ • สนับสนุนส่วนกลางกำหนดทิศทางการพัฒนาเกษตรกรและองค์กรเกษตรกร • สร้างและจัดการองค์ความรู้ การพัฒนาเกษตรกรและองค์กรเกษตรกร • เสริมสร้างกระบวนทัศน์ การทำงานร่วมกันแบบบูรณาการ • สนับสนุนและพัฒนาทักษะบุคลากรจังหวัด อำเภอและเกษตรกร • บริการวิชาการและข้อมูล ตลอดจนสนับสนุนการดำเนินงานส่วนกลาง และจังหวัด
แนวทางการดำเนินงาน • อาชีพ • การบริหารจัดการ • พึ่งพาตนเองได้ เกษตรกรมีความพร้อม • สมาคม, ชมรม • เครือข่าย ส่งเสริมการรวมกลุ่ม • โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว • โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูปผลผลิตเกษตร • โครงการส่งเสริมและพัฒนาองค์กรเกษตรกร • โครงการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน • โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการงานส่งเสริมการเกษตร (ขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง) • โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ • โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการงานส่งเสริมการเกษตร (เกษตรหมู่บ้าน) พัฒนา พัฒนา เกษตรกร ครอบครัวเกษตรกร องค์กรเกษตรกร มีความเข้มแข็งและสามารถพึงพาตนเองได้ • กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร • กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร • กลุ่มยุวเกษตรกร • สมาคม, วิสาหกิจชุมชน อาสาสมัครเกษตร, เกษตรหมู่บ้าน, เกษตรกรรุ่นใหม่, เกษตรกรคลื่นลูกใหม่ ส่งเสริมรายบุคคล ส่งเสริมการรวมกลุ่ม เกษตรกร
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัวโครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
กิจกรรม 1.ส่งเสริมการตลาดผลิตภัณฑ์โครงการฯ 1. งาน 5 ปีสายใยรักแห่งครอบครัวฯ 1 ครั้ง ดำเนินการ เมื่อวันที่ 7-12 ธันวาคม2553 ณ เมืองทองธานี จ.นนทบุรี กลุ่มแม่บ้านสายใยรักแห่งครอบครัวฯเขตที่ 1 เข้าร่วมจำหน่าย สินค้า จำนวน 103 กลุ่ม รายได้รวม 5,045,746 บาท 2. ตลาดนัดโครงการสายใยรักแห่งครอบครัวฯ สถานที่ตลาด อ.ต.ก. จำนวน 12 ครั้ง ๆ ครั้งละ 7 วัน (ทุกวันที่ 28 ของเดือน)
2. พัฒนาการดำเนินงานโครงการฯ กิจกรรม สัมมนาสมาชิกผู้นำ เป้าหมาย จำนวน 36 คน • การดำเนินงาน • *จังหวัด คัดเลือกสมาชิกผู้นำสายใยรักแห่งครอบครัวฯ จังหวัดละ 4 คน ประกอบด้วย • แม่บ้านสายใยรักแห่งครอบครัวฯ • พ่อบ้านสายใยรักแห่งครอบครัวฯ • ยุวเกษตรกรสายใยรักแห่งครอบครัว *สสข. ดำเนินการสัมมนา จำนวน 2 วัน วันที่ 23-24 ก.พ. 54
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูปโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูป วัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มช่องทางการจำหน่ายและเชื่อมโยงตลาดสินค้าแปรรูป กิจกรรม การจัดตลาดจำหน่ายสินค้า จำนวน 1 ครั้ง เป้าหมาย กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร 9 จังหวัดในเขตที่ 1 การดำเนินงาน จังหวัด คัดเลือกกลุ่มแม่บ้านที่ได้รับมาตรฐาน มผช. อย. ฮาลาล เข้าร่วมจำหน่ายสินค้า แจ้งรายชื่อกลุ่มให้ สสข. สสข. * คัดเลือกกลุ่มเข้าร่วมโครงการ * จัดตลาดจำหน่ายสินค้า จำนวน 5 วัน วันที่ 10-14 มี.ค. 54
โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ วัตถุประสงค์ • เพื่อส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรไทยรุ่นใหม่ให้มีความเข้มแข็งและมีศักยภาพการแข่งขันในการผลิตด้านเกษตรกรรม • เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการสร้างเครือข่ายเกษตรกรรุ่นใหม่และเชื่อมโยงเครือข่ายในการพัฒนาด้านเกษตรกรรม
เป้าหมาย แบ่งเป็น 3 ระดับ ได้แก่ • ขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย ทายาทเกษตรกร เยาวชน เยาวชนเกษตร หรือผู้ที่สนใจทำอาชีพเกษตร จังหวัดดำเนินการ • ขั้นกลาง ประกอบด้วย ผู้เริ่มต้นประกอบอาชีพเกษตร นักศึกษาระดับ ปวช. ปวส. หรือปริญญาตรีด้านการเกษตร เขตดำเนินการ วันที่ 5-8 ก.ค. 54 • ขั้นก้าวหน้า ประกอบด้วยเกษตรกรคลื่นลูกใหม่ที่ต้องการดำเนินธุรกิจด้านการเกษตร กรมฯ ดำเนินการ
การดำเนินงาน • กรมจะดำเนินการจัดสัมมนา เดือนมกราคม 2554 เพื่อสร้างหลักสูตรสำหรับการพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่แบบบูรณาการ จำนวน 3 หลักสูตร • ผู้เข้าร่วมสัมมนา :- กรมส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และเกษตรกรรุ่นใหม่ • ติดตาม นิเทศงาน และประเมินผลการดำเนินงาน จังหวัด โดย ส่วนกลาง และสสข.
การสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่การสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ สัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำหลักสูตรสำหรับการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ จัดการฝึกอบรมเกษตรกรรุ่นใหม่ คือ 1) ขั้นพื้นฐาน 2) ขั้นกลาง 3) ขั้นก้าวหน้า ติดตามความก้าวหน้า และรายงานผลดำเนินงาน สมุดบันทึกกิจกรรมฟาร์ม สัมมนาสรุปผลการดำเนินงานการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่
โครงการส่งเสริมและพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกรโครงการส่งเสริมและพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร กิจกรรม จัดเวทีเครือข่ายกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร จำนวน 9 คน บุคคลเป้าหมาย ประธานกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรระดับจังหวัด 9 จังหวัด ในพื้นที่เขตที่ 1 การดำเนินงาน * ประสานงานจังหวัด แจ้งให้บุคคลเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ * สสข.จัดเวทีเครือข่าย จำนวน 2 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน ครั้งที่ 1 วันที่ 10 ก.พ. 54 ครั้งที่ 2 วันที่ 25 ส.ค. 54
การบริหารจัดการธุรกิจของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรการบริหารจัดการธุรกิจของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร แบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการบริหารจัดการธุรกิจกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรแบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 2. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความสามารถจัดทำแผนกลยุทธ์ทางด้านการตลาดท่องเที่ยวเชิงเกษตร 3. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสร้างองค์กรเครือข่ายเชื่อมโยงธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงเกษตรของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร
เป้าหมาย เกษตรกร/สมาชิกกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร โดยมีสมาชิกกลุ่มไม่ต่ำกว่า 20 คน
วิธีการดำเนินงาน ระดับจังหวัด • จังหวัด/อำเภอ คัดเลือกกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรที่มีศักยภาพ เพื่อพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร • จังหวัด/อำเภอ ร่วมกับชุมชน และคณะกรรมการกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เลือกคณะกรรมการบริหารแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร
วิธีการดำเนินงาน ระดับเขต • จัดอบรมให้แก่เจ้าหน้าที่ระดับจังหวัด/อำเภอ และคณะกรรมการบริหารแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร จำนวน 3 รุ่น รุ่นที่ 1 ได้แก่ ชน. อย. ลพ. สห. สสข. วันที่ 15-16 มี.ค. 54 รุ่นที่ 2 ได้แก่ สบ. อท. วันที่ 19-20 เม.ย. 54 รุ่นที่ 3 ได้แก่ นบ. ปท. กทม. วันที่ 19-20 พ.ค. 54
โครงการการส่งเสริมและพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกรโครงการการส่งเสริมและพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร
กิจกรรม • พัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร • เป้าหมาย 1 อำเภอ 1 กลุ่มยุวเกษตรกร • การดำเนินงาน จังหวัด/อำเภอดำเนินการฝึกกระบวนการกลุ่มยุวเกษตรกร การบริหารกลุ่ม ถ่ายทอดความรู้ และฝึกทักษะด้านการเกษตร/เคหกิจเกษตร และทักษะชีวิต
2. ส่งเสริมการดำเนินงานคณะกรรมการสภายุวเกษตรกร วัตถุประสงค์ • เพื่อส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้การบริหารจัดการองค์กร (กลุ่มยุวเกษตรกร) • พัฒนาศักยภาพผู้นำองค์กรและสร้างเครือข่ายความร่วมมือ • เพื่อจัดทำแผนการดำเนินการของคณะกรรมการสภายุวเกษตรกรทุกระดับ
การดำเนินงาน 1. การประชุมคณะกรรมการสภายุวเกษตรกร ระดับจังหวัด ผู้เข้าร่วมประชุมเป็นผู้แทนคณะกรรมการกลุ่มยุวเกษตรกร ระดับอำเภอ ๆ ละ 2 ราย • ประกอบด้วยประธานกรรมการ • เลขานุการหรือกรรมการ
การดำเนินงาน 2. การประชุมคณะกรรมการสภายุวเกษตรกร ระดับเขต ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย ผู้แทนคณะกรรมการสภายุวเกษตรกรระดับจังหวัดในเขตพื้นที่จังหวัดละ 3 ราย ได้แก่ • ประธานสภายุวเกษตรกรระดับจังหวัด • ที่ปรึกษายุวเกษตรกร • เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานยุวเกษตรกรระดับจังหวัด สสข.1 กำหนดจัดประชุม จำนวน 2 ครั้ง ดังนี้ ครั้งที่ 1 วันที่ 15 ก.พ. 54 ครั้งที่ 2 วันที่ 16 มิ.ย. 54 3. การประชุมคณะกรรมการสภายุวเกษตรกร ระดับประเทศ
กิจกรรมประกอบด้วย • การบรรยายความรู้ด้านการบริหารจัดการกลุ่มและเครือข่าย • การแลกเปลี่ยนข้อมูลและระดมความคิดเห็นในการการพัฒนากลุ่ม • การเลือกตั้งคณะกรรมการสภายุวเกษตรกร • การวางแผนกิจกรรมการดำเนินงานของกรรมการสภายุวเกษตรกร
โครงการการส่งเสริมองค์กรยุวเกษตรกรกับต่างประเทศโครงการการส่งเสริมองค์กรยุวเกษตรกรกับต่างประเทศ
1. โครงการฝึกงานยุวเกษตรกรไทยในครอบครัวเกษตรกรญี่ปุ่น ปี 2554 เป้าหมาย(JAEC) 10 คน การดำเนินงาน • จังหวัด ประชาสัมพันธ์ และรับสมัครเยาวชนเกษตร ส่งใบสมัครให้ สสข. ดำเนินการ 30 พ.ย. 2553 • สสข. ดำเนินการคัดเลือก ส่งผลการคัดเลือกให้กรมฯ 2 ธ.ค.2554 • ส่วนกลางสอบสัมภาษณ์และสอบปฏิบัติ 15-17 ธ.ค. 2553 • ผลการสอบคัดเลือก ตัวแทนเยาวชนเกษตรจาก สสข.1 ไม่มีผู้ผ่านการคัดเลือก
2. โครงการแลกเปลี่ยนยุวเกษตรกรระหว่างประเทศระยะสั้น ปี 2554 ประเทศ(เป้าหมาย) • เกาหลีใต้ - ทีมยุวเกษตรกร 3 สัปดาห์ (จนท. 1 คน ทปษ 1 คน ยุวฯ 2 คน) - ทีมผู้บริหาร 6 วัน (ผู้บริหาร 1 คน จนท. 3 คน) • ญี่ปุ่น - ทีมยุวเกษตรกร 1 เดือน (จนท. 1 คน ทปษ 1 คน ยุวฯ 4 คน - ทีมผู้บริหาร 6 วัน (ผู้บริหาร 1 คน จนท. 3 คน)
วิธีดำเนินการ • สำนักงานเกษตรอำเภอหรือจังหวัด ประชาสัมพันธ์และรับสมัคร เดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2554 คัดเลือก (ส่ง สสข.) • สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร คัดเลือก (ส่งกรมฯ) • กรมส่งเสริมการเกษตร ดำเนินการสอบ • เดินทางเข้าร่วมโครงการ • เกาหลีใต้ กรกฎาคม 2554 • ญี่ปุ่น มิถุนายน 2554
3. Winter Camp in Korea 2011 การดำเนินงาน • จังหวัดเสนอชื่อยุวเกษตรกร จังหวัดละ 1 คน คุณสมบัติ สุขภาพแข็งแรง สามารถอยู่ในสถานที่อุณหภูมิต่ำกว่า 0 องศาเซลเซียส อยู่ในกลุ่มที่ชนะเลิศระดับประเทศ/เขต • สสข. คัดเลือก เจ้าหน้าที่ เขตละ 1 คน • กรมฯ สอบคัดเลือก วันที่ 30 ธันวาคม 2553
โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชนโครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน ปี 2554
ประชุมคณะกรรมการ/อนุกรรมการ ระดับประเทศ จังหวัด อำเภอ ประชุมคณะกรรมการ/อนุกรรมการ เพิ่มทักษะการฏิบัติงานและบูรณาการ ส.นายทะเบียนฯส.ปรับปรุงระบบประเมินส.บูรณาการฯ สนับสนุนการปฏิบัติงานฯ จัดเวทีเรียนรู้สมาชิก วสช. -ค่าใช้จ่ายในการเก็บข้อมูล-ระบบสารสนเทศ-ติดตาม ประเมินผล Output สมาชิกวิสาหกิจชุมชนผ่านกระบวน การเรียนรู้ 17,600 ราย ส่งเสริมการจัดทำแผน&พัฒนาทักษะการผลิตและตลาด Outcome -สมาชิก วสช.ที่ผ่านกระบวนการเรียนรู้สามารถนำความรู้ไปใช้ในกิจการได้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 65 -กรรมการ อนุฯ บูรณาการส่งเสริมได้อย่างมี ปสภ.
ประชุมคณะกรรมการ/อนุกรรมการประชุมคณะกรรมการ/อนุกรรมการ
การประชุมกรรมการ/อนุกรรมการการประชุมกรรมการ/อนุกรรมการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้เป็นกลไกสนับสนุนการบูรณาการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ 1.1 ประชุมคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน 2 ครั้ง 1.2 ประชุมคณะกรรมการประสานนโยบายกองทุน เพื่อพัฒนากิจการวิสาหกิจชุมชน 1 ครั้ง 1.3 ประชุมคณะอนุกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ระดับประเทศ6 ครั้ง ส่วนกลาง
การประชุมกรรมการ/อนุกรรมการการประชุมกรรมการ/อนุกรรมการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้เป็นกลไกสนับสนุนการบูรณาการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ 1.4 ประชุมคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจังหวัด จังหวัดละ 2 ครั้ง 1.5 ประชุมคณะอนุกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจังหวัด จังหวัดละ 2 ครั้ง 1.6 ประชุมคณะอนุกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนอำเภอ อำเภอละ 2 ครั้ง 1.7 ประชุมคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจ ชุมชน ส่วนกลาง 3 ครั้ง / เขต 3 ครั้ง จังหวัด/เขต
เพิ่มทักษะการปฏิบัติงานและบูรณาการเพิ่มทักษะการปฏิบัติงานและบูรณาการ
1.8 สัมมนาบูรณาการงานส่งเสริม วสช. ดำเนินการโดย สลคช. จำนวน 1 ครั้ง วัตถุประสงค์ เพื่อบูรณาการงานส่งเสริม วสช.ระหว่างหน่วยงานภาคี และเสนอแนวทางต่อคณะกรรมการฯ 1.9 สัมมนาปรับปรุงระบบการประเมินฯ ดำเนินการโดย สลคช. จำนวน 1 ครั้ง วัตถุประสงค์ เพื่อระดมความคิดเห็นในการปรับปรุงระบบและแบบประเมินศักยภาพ วสช.
1.10 สัมมนาเพิ่มทักษะการปฏิบัติงาน นายทะเบียนวิสาหกิจชุมชน ดำเนินการโดย สสข. 1 - 6 วัตถุประสงค์ เพื่อให้เกษตรอำเภอมีทักษะในการทำหน้าที่นายทะเบียนวิสาหกิจชุมชน ให้สามารถขับเคลื่อน ประสานการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ วิธีการดำเนินงาน - เกษตรอำเภอ/รักษาการ เตรียมประเด็นปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ ข้อกฎหมาย/ระเบียบ การจดทะเบียน การบูรณาการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่ เพื่อร่วมอภิปรายและแลกเปลี่ยนประสบการณ์
สนับสนุนการปฏิบัติงานส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนสนับสนุนการปฏิบัติงานส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
1.11 ค่าใช้จ่ายในการเก็บข้อมูลระบบสารสนเทศวิสาหกิจชุมชน วัตถุประสงค์ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานการจัดเก็บข้อมูลระบบสารสนเทศวิสาหกิจชุมชนของสำนักงานเกษตรอำเภอ 1.12 ค่าดูแลระบบและพัฒนาโปรแกรมสารสนเทศวิสาหกิจชุมชน 1.2 ติดตามและประเมินผลโครงการ รวมอยู่ในระบบติดตามประเมินผลของกรมฯ
พัฒนากระบวนการเรียนรู้สมาชิกวิสาหกิจชุมชนพัฒนากระบวนการเรียนรู้สมาชิกวิสาหกิจชุมชน
ส่งเสริมการจัดทำแผนพัฒนาวิสาหกิจชุมชน และพัฒนาทักษะด้านการผลิตและการตลาดแก่สมาชิก วสช. วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมการจัดเวทีเรียนรู้ของสมาชิก วสช.ให้สามารถค้นหาศักยภาพและจัดทำแผนพัฒนากิจการวิสาหกิจชุมชน ดำเนินการโดย สำนักงานเกษตรจังหวัด/อำเภอ วิธีการดำเนินงาน -เป้าหมาย 1,760 วสช. (1,760 วสช. x 10 ราย x 1 ครั้ง x 2 วัน x 200 บาท)
วิธีการดำเนินงาน - การจัดสรรเป้าหมาย 1) เป้าหมายขั้นต้น อำเภอ/เขต ละ 1 แห่ง และ 2) อำเภอ ซี 8 เพิ่มอีกอำเภอละ 1 แห่ง และ 3) จัดสรรตามจำนวน วสช.ที่จดทะเบียน โดยให้จังหวัดพิจารณาจัดสรรให้แต่ละอำเภอเพิ่มเติมตามความเหมาะสม - การคัดเลือกเป้าหมาย ใช้หลักเกณฑ์ตามคู่มือโครงการและประสานกับ สนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์จังหวัด เพื่อกำหนดเป้าหมายการทำงานร่วมกันด้วย - จังหวัดแจ้งรายชื่อ วสช. เป้าหมายให้ สลคช.ภายใน 31 ม.ค.54 ( E-mail : sceb10@doae.go.th)
วิธีการดำเนินงาน - ให้เชิญหน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการจัดเวทีการเรียนรู้ ฯ - อำเภอ จังหวัด เสนอแผนการพัฒนาประสานภาคีที่เกี่ยวข้อง โดยใช้การประสานโดยตรง หรือกลไกอนุกรรมการ/กรรมการ - บันทึกผลการดำเนินงานในระบบสารสนเทศ และรายงานผลการดำเนินงานต่ออนุกรรมการ/กรรมการตามลำดับ